Page 132 - kpi20767
P. 132
107
ตารางที่ 4.2 (ต่อ) ความถี่ และร้อยละ (Percentage) ของกลุ่มตัวอย่างจ าแนกตามสังกัดกอง
สังกัดกอง f %
1
2
กองการพัฒนาระบบบริหาร 4 1.31
กองตรวจสอบภายใน 3 0.98
กองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ 29 9.48
กองส่งเสริมสวัสดิการและคุ้มครองผู้สูงอายุ 20 6.54
กองบริหารกองทุนผู้สูงอายุ 10 3.27
ส านักงานเลขานุการกรม (ก.กิจการผสอ.) 16 5.23
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน 19 6.21
กองทะเบียนธุรกิจน าเที่ยวและมัคคุเทศก์ 22 7.19
กองพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว 13 4.25
กองพัฒนามาตราฐานงานบุคคลากรท่องเที่ยว 7 2.29
ส านักงานเลขานุการกรม (กรมการท่องเที่ยว) 11 3.59
กองกิจการภาพยนต์และวิดีทัศน์ต่างประเทศ 2 0.65
กองพัฒนาบริการท่องเที่ยว 40 13.07
รวมจ านวน 306 100.00 -.25 -1.27
หมายเหตุ: และ เป็นการคิดค านวณจากชุดข้อมูล ซึ่งมีฐานะเป็นตัวแปรหรือเป็นองค์ประกอบ
1
2
ของชุดข้อมูลซึ่งมีฐานะเทียบเท่าตัวแปรในการวิจัย
ตารางที่ 4.2 พบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 306 ตัวอย่าง ส่วนใหญ่สังกัดกอง
พัฒนาบริการท่องเที่ยว โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 40 คน (f = 40) คิดเป็นร้อยละ 13.07 (13.07 %)
รองลงมาสังกัดกองส านักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น โดยมีค่าความถี่เท่ากับ 37 คน
(f = 37) คิดเป็นร้อยละ 12.09 (12.09 %) และสังกัดกองส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ โดยมีค่าความถี่เท่ากับ
30 คน (f = 30) คิดเป็นร้อยละ 9.48 (9.48 %)
ทั้งนี้ จากชุดข้อมูลดังกล่าว พบว่า ไม่มีตัวแปรใดที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Skewness
Coefficient; ) หรือค่าสัมประสิทธิ์ความโด่ง (Kurtosis Coefficient; ) มากกว่า ± 2 ขึ้นไป
2
1
โดยตัวแปรทั้งหมดมีค่าสัมประสิทธิ์ความเบ้ (Skewness Coefficient; ) และค่าสัมประสิทธิ์ความ
1
โด่ง (Kurtosis Coefficient; ) อยู่ในช่วงระหว่าง -2 ถึง +2 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าข้อมูลชุดนี้ มีการ
2
แจกแจงที่เป็นโค้งปกติ และมีความเหมาะสมต่อการน าไปวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางสถิติต่อไป