Page 24 - kpi20488
P. 24
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 23
เกณฑ์ในการคัดเลือกกลุ่มประชากรเป้าหมายเพื่อทำาการสัมภาษณ์
เชิงลึก (In-Depth Interview) กลุ่มที่เกี่ยวข้องกับสื่อ คณะผู้เขียนใช้เกณฑ์
คัดเลือกแบบเจ�ะจง (Purposive Sampling) โดยให้สัดส่วนของผู้ให้ข้อมูล
สำ�คัญในก�รให้ข้อมูลของทุกกลุ่มมีคว�มใกล้เคียงกัน ทั้งในเรื่องของจำ�นวน
และจุดยืนท�งก�รเมืองที่หล�กหล�ย ร�ยน�มผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ (Key Informants)
4.3 การสร้างเครื่องมือ
โดยใช้กรอบแนวคิดทฤษฎีทั้ง 3 ด้�น เป็นแนวท�งในก�รสร้�งเครื่องมือ
ซึ่งเป็นแบบสัมภ�ษณ์เชิงลึก (In-Depth Interview) และใช้ในก�รวิเคร�ะห์
สังเคร�ะห์ข้อมูลที่ได้จ�กก�รตรวจสอบเอกส�รประกอบกับข้อมูลจ�กก�ร
สัมภ�ษณ์เชิงลึก โดยมีคำ�ถ�มพื้นฐ�นสำ�คัญสำ�หรับ ผู้ให้ข้อมูลสำาคัญ
ทุกกลุ่ม ไว้เป็นกรอบประเด็นหลัก 5 ประเด็น
1) อิทธิพลและบทบ�ทของสื่อต่อก�รสร้�งสรรค์สังคมให้เกิดสันติสุข
2) แนวท�ง/วิธีก�รสร้�งสรรค์สื่อที่ทำ�ให้สังคมเกิดสันติสุข
3) วิธีก�รนำ�เสนอ/ผลิตสื่อ/ข้อมูล ให้สร้�งสรรค์และเพื่อให้สังคมเกิด
สันติสุข
4) ปัญห�และอุปสรรคในก�รทำ�ง�นในก�รสร้�งสรรค์สื่อให้สังคมเกิด
สันติสุข และวิธีก�รจัดก�รปัญห�และอุปสรรคดังกล่�ว
5) รูปแบบ แนวท�ง วิธีก�รนำ�เสนอเนื้อห�ของสื่อในภ�วะปกติ และ
ภ�วะที่สังคมมีคว�มขัดแย้งเพื่อสร้�งสรรค์สังคมให้เกิดสันติสุข
กลุ่มเป้าหมายในการศึกษา ประกอบด้วย
1) การสัมภาษณ์เชิงลึกในกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับสื่อ
กลุ่มสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ กำ�หนดประเด็นคำ�ถ�มเพิ่มเติมคือ
1) ก�รว�งแผนและว�งกลยุทธ์ก�รเผยแพร่ ติดต�ม ตรวจสอบสื่อ
2) ก�รวัดคว�มสำ�เร็จของสื่อสร้�งสรรค์