Page 25 - kpi20488
P. 25

24  สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข






                      กลุ่มนักวิชาการ กำ�หนดประเด็นคำ�ถ�มเพิ่มเติมเพื่อทำ�ให้
                     ทร�บถึง 1) กรอบแนวคิดนิย�มของสังคม สันติสุข และบริบทของ
                     สื่อในสังคมไทย 2) ยุทธศ�สตร์ในก�รใช้สื่อเพื่อสร้�งสังคมสันติสุข
                     3) แนวท�งที่มีประสิทธิภ�พสูงสุดของก�รแก้ปัญห�คว�มขัดแย้ง
                     ในสังคมไทยที่เกิดขึ้นจ�กก�รเสพสื่อเลือกข้�ง
                       กลุ่มผู้ใช้สื่อ กำ�หนดประเด็นคำ�ถ�มเพิ่มเติมเพื่อทำ�ให้ทร�บ
                     ถึงแนวท�งปฏิบัติของก�รนำ�สื่อไปใช้เพื่อทำ�ให้สังคมเกิดสันติสุข
                     และก�รพัฒน�สังคม
                       กลุ่มองค์กรสนับสนุนสื่อและองค์กรกำากับควบคุมสื่อ

                     กำ�หนดประเด็นคำ�ถ�มเพื่อทำ�ให้ทร�บถึงแนวท�งปฏิบัติขององค์กร
                     ภ�ยนอกที่มีต่อก�รพัฒน�สื่อในสังคมไทย ปัญห�และอุปสรรค
                     ในก�รทำ�ง�นขององค์กรที่ขับเคลื่อนสื่อ ทั้งสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่
                       กลุ่มผู้รับสื่อ กำ�หนดประเด็นเพื่อสะท้อนมุมมองของผู้บริโภค
                     ที่มีต่อสื่อดั้งเดิมและสื่อใหม่ โดยมีกรอบคำ�ถ�มสำ�คัญ 3 ประเด็น
                          1)  ปัญห�สื่อดั้งเดิม เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ วิทยุ
                             ว่�ก�รให้ข่�วส�รต่อสังคมเป็นอย่�งไร
                          2)  ปัญห�จ�กก�รใช้สื่อออนไลน์ ทั้ง Facebook, YouTube,
                             Line

                          3)  สิ่งที่อย�กเห็น “ก�รใช้สื่อ” ในสังคมไทยอย่�งไรให้
                             สร้�งสรรค์และทำ�ให้สังคมเกิดสันติสุข
                   2)  กลุ่มตัวอย่างในการสังเคราะห์พฤติกรรมการสื่อสารคือกลุ่ม
                     นักศึกษา 4ส7
                         กำ�หนดประเด็นสำ�คัญเพื่อสะท้อนมุมมองของก�รสื่อส�รใน
                     กลุ่มที่ใช้ “ไลน์” เป็นพื้นที่ในก�รสื่อส�รและแบ่งปันข้อมูลให้แก่กัน
                     และกัน ก�รเรียนรู้แลกเปลี่ยนในห้องเรียน และก�รศึกษ�ดูง�น
                     โดยใช้ก�รสังเกตอย่�งมีส่วนร่วม (Participant Observation)
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30