Page 103 - kpi20488
P. 103
102 สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข
ร�ยก�รลักษณะนี้มีคว�มเสี่ยงต่อก�รที่จะถูกวิจ�รณ์ว่� “เล่นกับผู้ป่วย”
และอ�จมีผลในเชิงลบ ดังนั้น กระบวนก�รในก�รพัฒน�ร�ยก�รคือทำ�ง�น
ใกล้ชิดกับผู้ป่วย แพทย์ อ�ส�สมัคร และชุมชน (Community) ของผู้ที่สู้กับ
อ�ก�รป่วยท�งจิต และกลุ่มเคลื่อนไหวที่รณรงค์คว�มเข้�ใจเกี่ยวกับโรคเหล่�นี้
เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เข้�ใจ สื่อส�รให้ตรงประเด็น และเล่�เรื่องโดยใช้คนเหล่�นี้
เป็นตัวเอก
ร�ยก�รออกอ�ก�ศทุกวัน โดยแต่ละร�ยก�รจะมีรูปแบบและมุมมอง
ก�รนำ�เสนอที่แตกต่�งกัน มีทั้งคว�มบันเทิง คว�มจริงแบบ Reality และ
ก�รให้ข้อมูล ร�ยก�รทำ�หน้�ที่กระตุ้นให้เกิดก�รอภิปร�ย กระตุ้นให้คนพูดถึง
และให้โอก�สทำ�คว�มเข้�ใจต่อโรคและผู้ป่วย จะเห็นว่�ร�ยก�รโทรทัศน์
เหล่�นี้ได้นำ�สื่อหล�ยด้�นม�ผสมผส�นกันเพื่อสื่อส�รกับผู้ชม โดยให้ผู้ชม
เข้�ม�มีปฏิสัมพันธ์กับร�ยก�ร เพื่อสร้�งคว�มเข้�ใจและปรับเปลี่ยนทัศนคติ
ที่ติดลบเป็นคว�มเข้�ใจ เห็นใจ และเปิดโอก�สให้กับผู้ป่วย ร�ยก�รเช่นนี้ได้
จุดประก�ยในก�รใช้สื่อผสมเพื่อสร้�งคว�มเข้�ใจ เพื่อสร้�งสันติสุขในสังคม
ได้เช่นเดียวกัน
2.4 ผู้รับสาร (Receiver)
ก�รจะเป็นผู้รับส�รที่ดีและก่อให้เกิดกระบวนก�รสื่อส�รที่มี
ประสิทธิภ�พนั้น ต้องมีก�รใช้หลัก “โยนิโสมนสิก�ร” คือ ก�รพิจ�รณ�อย่�ง
รอบคอบถี่ถ้วน หรือคว�มไม่ประม�ท เพื่อช่วยในก�รกลั่นกรองข้อมูลอีก
ชั้นหนึ่ง และเพื่อแยกแยะคว�มถูกต้องแม่นยำ�ของส�รที่รับม� นอกจ�กนี้
ยังควรยึดหลัก “ก�ล�มสูตร” ในข้อที่ 3 “อย่�เชื่อมงคลตื่นข่�ว” ประกอบก�ร
พิจ�รณ�ในก�รรับข้อมูลข่�วส�ร ขณะที่พิณจ์ทอง แมนสุมิตร์ชัย มองว่�
สิ่งที่จะช่วยเสริมให้เป็นผู้รับส�รที่ดีก็คือ ก�รฟังอย่�งตั้งใจ มีสติ และก�รสังเกต
อย่�งเปิดใจกว้�ง สะอ�ด สว่�ง บริสุทธิ์ ไร้อคติ ซึ่งเป็นก�รเดินต�มท�งของ
อริยมรรค 8 ที่พระพุทธองค์ทรงประท�นให้ไว้กับสรรพสัตว์ กล่�วคือ
“สัมม�สติ” และ “สัมม�สม�ธิ”