Page 108 - kpi20488
P. 108
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 107
3. สรุปข้อเสนอจากการสัมภาษณ์สื่อ
และนักวิชาการ เรื่อง การพัฒนา
สื่อสร้างสรรค์เพื่อสังคมสันติสุข
3.1 ผู้ทรงคุณวุฒิในกลุ่มสื่อวิทยุ
1) มุมมองต่อตนเอง
หัวใจของสื่อวิทยุที่ต้องตระหนักให้ม�กที่สุดคือ ต้องมีจรรย�บรรณ
ในก�รทำ�สื่อเพื่อสันติสุขนั้นจะต้องไม่พูดให้ร้�ยใคร ไม่พูดให้เกิดก�รแบ่งแยก
ก่อนจะทำ�ร�ยก�รต้องพิจ�รณ�ก่อนว่�มีประโยชน์กับสังคมอย่�งไร ต้องวิเคร�ะห์
ก่อนว่�เรื่องที่นำ�เสนอจะก่อให้เกิดคว�มขัดแย้งหรือไม่ ร�ยก�รวิทยุจะต้อง
ยืนอยู่ตรงกล�ง เนื่องจ�กร�ยก�รวิทยุไม่ใช่สื่อเลื่อนลอย จะต้องมีคว�ม
น่�เชื่อถือและตรงจริตผู้ฟังจึงจะมีคนติดต�มฟัง
สันติสุขที่แท้จริงต้องเกิดขึ้นที่ตัวของเร�ก่อน ตร�บใดที่สันติสุขไม่ได้
เกิดขึ้นในใจ สังคมก็ไม่มีสันติสุข เมื่อเร�ทำ�ใจเป็นกล�ง มองโลกในแง่บวก
สันติสุขก็จะเกิดในใจเร� ก�รสร้�งสรรค์สื่อที่จะทำ�ให้เกิดสันติสุขนั้น ต้องเริ่ม
จ�กก�รสร้�งสื่อให้มีสำ�นึกรับผิดชอบต่อช�ติ ต่อประช�ชน นำ�เสนอข้อมูล
ข่�วส�รที่เกิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวมและถูกต้องยุติธรรม ห�กข่�วใดที่
นำ�เสนอแล้วไม่เกิดประโยชน์ต่อช�ติ ต่อประช�ชน นำ�ไปสู่คว�มแตกแยก
แบ่งฝ่�ย หรือเกิดคว�มเสียห�ย แม้ว่�จะเป็นเรื่องจริงก็ไม่ควรนำ�ม�เสนอ
สื่อต้องไม่นำ�เสนอข่�วเพียงต�มคำ�บอกเล่�ของแหล่งข่�วโดยไม่มีพื้นฐ�น
คว�มรู้ แต่ต้องใช้วิจ�รณญ�ณในองค์คว�มรู้อย่�งแท้จริง ทั้งท�งนิติศ�สตร์
และรัฐศ�สตร์ ยกตัวอย่�งเช่น ข่�วก�รบุกรุกที่ดิน มีเจ้�หน้�ที่ไปยึดที่ดิน
และโค่นต้นย�งพ�ร�ที่ช�วบ้�นปลูกเพื่อเลี้ยงชีพ สื่อนำ�ม�ประโคมข่�ว
ผู้บริโภคสื่อเห็นชอบด้วย แต่สื่อไม่ทร�บคว�มเป็นม�ของพื้นที่นั้นว่�ประช�ชน
เข้�ม�อยู่ได้อย่�งไร สื่อติดต�มแต่เรื่องผิดกฎหม�ยของช�วบ้�น แต่ไม่ช่วย