Page 110 - kpi20488
P. 110
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 109
3) มุมมองต่อผู้รับสาร
ผู้บริโภคสื่อจะต้องใช้วิจ�รณญ�ณในก�รรับสื่อ โดยคำ�นึงถึงหลักก�ร
คว�มถูกต้อง และคว�มเป็นธรรม ไม่ควรชื่นชมในตัวบุคคล หรือคณะบุคคล
หรือสื่อที่นำ�คว�มแตกแยกม�สู่สังคม ยกย่องบุคคลที่ควรยกย่อง ต่อต้�น
บุคคลและกลุ่มบุคคลที่ไม่ถูกต้อง ไม่ทำ�ตัวเหมือนน้ำ�เต็มแก้ว แต่ควรรู้หล�ยๆ
ศ�สตร์ ไม่ใช่เฉพ�ะศ�สตร์ที่เรียนม� แล้วคิดว่�เก่งกว่�ใครๆ ไม่รับฟังคนอื่น
ผู้บริโภคสื่อส�ม�รถช่วยลดปัญห�คว�มขัดแย้งแตกแยกได้ด้วย
ก�รให้คว�มเป็นธรรมกับทุกฝ่�ย ไม่ยอมรับบุคคลหรือคณะบุคคลที่ได้อำ�น�จ
ม�โดยผิดหลักก�ร ไม่ส่งเสริมบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่กระทำ�ผิดหลักก�รของ
คว�มถูกต้อง แม้ว่�จะเป็นพวกเดียวกัน ไม่ชื่นชมคนเด่นคนดังที่ประพฤติตัว
ไม่ถูกต้อง ไม่ไปซ้ำ�เติมกลุ่มอื่น หรือกลุ่มที่มองว่�ไม่ใช่พวกเดียวกับตนให้เกิด
ก�รเกลียดชังส่วนตัวเพิ่ม ให้อภัย ไม่เก็บม�คิดอ�ฆ�ต มุ่งเน้นคว�มยุติธรรม
ไม่ทำ�ตัวต�มกระแสโดยไร้หลักก�ร ยึดหลักก�รม�กกว่�ตัวบุคคล
3.2 ผู้ทรงคุณวุฒิในกลุ่มโทรทัศน์
1) มุมมองต่อตนเอง
สื่อมีบทบ�ทสำ�คัญม�กในฐ�นะผู้กำ�หนดส�ระท�งสังคม และสร้�ง
คว�มเข้�ใจอันดีระหว่�งกันในสังคมที่มีคว�มแตกต่�งหล�กหล�ย สื่อสร้�งสรรค์
จึงควรนำ�เสนอเนื้อห� ข่�วส�รอย่�งมีวิจ�รณญ�ณ นำ�เสนอคว�มจริง มีคว�ม
เป็นกล�ง โดยปร�ศจ�กอคติและคว�มรุนแรงต่�งๆ เพื่อป้องกันปัญห�
คว�มขัดแย้งหรือคว�มเข้�ใจผิดที่จะเกิดขึ้นได้ในสังคม ผู้รับส�รก็ส�ม�รถ
ช่วยให้สังคมเกิดสันติสุขได้
คนที่เป็นผู้เขียนหรือส่งข้อคว�มผ่�นสื่อต้องใช้วิจ�รณญ�ณและมี
จรรย�บรรณในก�รกลั่นกรองข้อมูลเพื่อคว�มถูกต้องก่อนที่จะถ่�ยทอดออกไป
ต้องพร้อมที่จะทำ�ก�รสืบค้นข้อมูลเพื่อคว�มถูกต้อง และวิเคร�ะห์สถ�นก�รณ์
ที่เกิดขึ้นให้เข้�ใจอย่�งถ่องแท้ มนุษย์แต่ละคนมีวุฒิภ�วะคว�มเป็นอยู่ วิถีก�ร