Page 49 - kpi20470
P. 49
สิ่งที่น่าสนใจ... ที่ค้นพบจากการส ารวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นในมิติการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน มี 3 ประการ คือ 36
6.1 การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และรับผิดชอบของประชาชน
เรามักได้ยินค าพูดจากรัฐอยู่บ่อยครั้งว่า ประชาชนไม่ค่อยรู้สิทธิหน้าที่ของตนเอง หรือบ่อยครั้งก็พบเจอ
ค าพูดที่ว่า อะไรๆ ก็อ้างสิทธิของตัวเอง แต่ไม่รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ สรุปแล้วค าพูดเหล่านี้ที่ว่า ประชาชน
6.1 การรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และรับผิดชอบของประชาชน
ไม่รู้สิทธิ ไม่รู้หน้าที่และความรับผิดชอบนั้นจริงหรือไม่?
เรามักได้ยินคำพูดจากรัฐอยู่บ่อยครั้งว่า ประชาชนไม่ค่อยรู้สิทธิหน้าที่ของตนเอง หรือบ่อยครั้ง
จากผลการส ารวจประชาธิปไตยท้องถิ่น พบว่า แท้จริงแล้ว! ประชาชนรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และความ
ก็พบเจอคำพูดที่ว่า อะไรๆ ก็อ้างสิทธิของตัวเอง แต่ไม่รู้จักหน้าที่และความรับผิดชอบ สรุปแล้วคำพูดเหล่านี้
รับผิดชอบของตนเองอยู่ในระดับสูง หากแต่เป็นระดับสูงที่เกินเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยมาเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
ที่ว่า ประชาชนไม่รู้สิทธิ ไม่รู้หน้าที่และความรับผิดชอบนั้นจริงหรือไม่? รายงานสถานการณ์
(เกณฑ์ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.94 และเมื่อถามว่าประชาชนที่อยู่ในองค์กร
จากผลการสำรวจประชาธิปไตยท้องถิ่น พบว่า แท้จริงแล้ว! ประชาชนรู้สิทธิ รู้หน้าที่ และความ
ปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทใดมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากกว่ากัน? ค าตอบก็คือ ประชาชนที่
รับผิดชอบของตนเองอยู่ในระดับสูง หากแต่เป็นระดับสูงที่เกินเกณฑ์คะแนนเฉลี่ยมาเพียงเล็กน้อย
เท่านั้น (เกณฑ์ระดับสูงมีค่า = 2.81-3.40) ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 2.94 และเมื่อถามว่าประชาชนที่อยู่
อยู่ในเขตเทศบาลนครมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19
ในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประเภทใดมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากกว่ากัน? คำตอบ
รองลงมาคือ องค์การบริหารส่วนต าบล เทศบาลต าบล เทศบาลเมือง และองค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมีค่า
ก็คือ ประชาชนที่อยู่ในเขตเทศบาลนครมีการรับรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบมากที่สุด
คะแนนเฉลี่ยไม่ได้แตกต่างกันมากนัก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.95, 2.94, 2.86 และ 2.81 ตามล าดับ จึงสะท้อนได้
โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.19 รองลงมาคือ องค์การบริหารส่วนตำบล เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และ
ว่า ประชาชนในท้องถิ่นไม่ได้ละเลยสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของตนเอง เพียงแต่ช่องทางการสื่อสารที่จะให้
องค์การบริหารส่วนจังหวัด ซึ่งมีค่าคะแนนเฉลี่ยไม่ได้แตกต่างกันมากนัก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.95, 2.94,
2.86 และ 2.81 ตามลำดับ จึงสะท้อนได้ว่า ประชาชนในท้องถิ่นไม่ได้ละเลยสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม และรับรู้สิทธิหน้าที่ของตนเองนั้นอาจยังมีข้อจ ากัดอยู่มาก ท าให้ประชาชนไม่ทราบ
ของตนเอง เพียงแต่ช่องทางการสื่อสารที่จะให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม และรับรู้สิทธิหน้าที่ของตนเองนั้น
ข้อมูลที่แน่ชัดว่าตนเองมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบอีกมากมายในการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาประชาธิปไตย
อาจยังมีข้อจำกัดอยู่มาก ทำให้ประชาชนไม่ทราบข้อมูลที่แน่ชัดว่าตนเองมีสิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบ
ท้องถิ่น อีกมากมายในการเข้าไปมีส่วนร่วมพัฒนาประชาธิปไตยท้องถิ่น
แผนภาพที่ 1-20 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน
แผนภาพที่ 1-20 แสดงระดับประชาธิปไตยท้องถิ่น มิติการมีส่วนร่วมของประชาชน ในประเด็นการรู้
ในประเด็นการรู้สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประชาชน
สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของประชาชน ส่วนที่ 1 ประชาธิปไตยท้องถิ่น : บทสำรวจความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่นไทย
1 เทศบาลนคร (ค่าเฉลี่ย=3.19)
ประชาชนรับรู้สิทธิ อบต. (ค่าเฉลี่ย=2.95)
หน้าที่ และความ 2
รับผิดชอบ
ในระดับสูง 3 เทศบาลต าบล (ค่าเฉลี่ย=2.94)
(ค่าเฉลี่ย=2.94)
4 เทศบาลเมือง (ค่าเฉลี่ย=2.86)
5 อบจ. (ค่าเฉลี่ย=2.81)
ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานส ารวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 211-213.
ที่มา: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจระดับความเป็นประชาธิปไตยท้องถิ่น (ฉบับสมบูรณ์),
หน้า 211-213.
สถาบันพระปกเกล้า