Page 179 - kpi19903
P. 179

151






               ตำรำงที่ 10.2 สหสัมพันธ์ระหว่างระหว่างรายได้และรายจ่ายกับผลการเลือกตั้งในระดับพื้นที่ในระบบแบ่งเขต

                                                   ไม่พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่   พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่
                 ผลกำรเลือกตั้งแบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
                                                    เพื่อไทย   ประชาธิปัตย์   ภูมิใจไทย   ชาติไทยพัฒนา   เพื่อไทย   ประชาธิปัตย์   ภูมิใจไทย   ชาติไทยพัฒนา
                             2554



               ค่าเฉลี่ยรายได้                   - . 24**   .48**   - . 27**  . -17**  . -09  .22**  -. 22**  -. 13
               สัดส่วนคนจน                        .10*    - . 23**   .25**   .00    - . 06   .03   .20**  -. 04
               สัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมของรายได้  . -12*   .19**   .08   - . 15**  . -04  .09**   .08  . -14*
               ค่าเฉลี่ยรายจ่าย                  - . 16**   .43**   - . 3 0**   . -18**  . -09  .22**  -. 28**  -. 14
               สัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมรายจ่าย   - . 05   .05   .14**   - . 09  . -08*  .05   .11*  . -06
               หมายเหตุ  ** :p<0.01, *p<0.05
                       เมื่อพิจารณาแผนภาพการกระจายพบว่าเขตเลือกตั้งที่มีค่าเฉลี่ยรายได้สูงมีแนวโน้มจะเลือกผู้สมัครจาก

               พรรคประชาธิปัตย์สูงดังรูปที่ 10.4 (ขวา) เช่นกรุงเทพมหานคร และภาคใต้ ในขณะที่เขตเลือกตั้งที่มีรายได้ต่ า
               บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีแนวโน้มที่จะเลือกพรรคภูมิใจไทย รูปที่ 10.4 (ซ้าย) ดังนั้นมีความเป็นไปได้ว่า

               ความเป็นภูมิภาคนิยมอาจจะเป็นสาเหตุที่แท้จริงของความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยรายได้และรายจ่ายกับผลการ

               เลือกตั้งก็เป็นได้ เพราะโดยภูมิศาสตร์แต่ละเขตเลือกตั้งและในแต่ละภูมิภาคมีส่วนก าหนดสถานภาพทางสังคม
               เศรษฐกิจอยู่พอสมควร




























                 รูปที่ 10.4 แผนภาพการกระจายระหว่างค่าเฉลี่ยรายได้กับผลการเลือกตั้งพรรคประชาธิปัตย์ (ขวา) และพรรค

                                                   ภูมิใจไทย (ซ้าย) ในปี 2554
   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183   184