Page 178 - kpi19903
P. 178

150










































                                           รูปที่ 10.3 สัดส่วนคนจนของแต่ละเขตเลือกตั้ง


                       10.1.2 ความสัมพันธ์ระหว่างค่าเฉลี่ยรายได้และค่าเฉลี่ยรายจ่ายกับผลการเลือกตั้ง ส.ส. แบบแบ่ง
               เขตเลือกตั้ง

                       เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของค่าเฉลี่ยรายได้และค่าเฉลี่ยรายจ่ายกับผลการเลือกตั้ง หลังจากน าผลจาก

               ค่าสหสัมพันธ์เชิงพื้นที่ออกไปแล้ว ดังแสดงในตารางที่ 10.2 พบว่า
                       1) ค่าเฉลี่ยรายได้สัมพันธ์ทางลบกับร้อยละที่เลือกพรรคภูมิใจไทย และพรรคชาติไทยพัฒนา (r=-.22 & -

               .13 ตามล าดับ)

                       2) ค่าเฉลี่ยรายจ่ายสัมพันธ์ทางลบกับร้อยละที่จะเลือกพรรคภูมิใจไทยและพรรคชาติไทยพัฒนา (r=-.28
               & -.14 ตามล าดับ)

                       3) สัดส่วนคนจนสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละที่เลือกพรรคภูมิใจไทย (r=.20)

                       4) ค่าเฉลี่ยรายได้ และค่าเฉลี่ยค่าใช้จ่ายสัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละที่จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์ (r=.22
               &.22 ตามล าดับ)

                       5) สัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมของรายได้และสัมประสิทธิ์ความไม่เท่าเทียมกันของรายจ่ายพบว่ามี

               ความสัมพันธ์กับผลการเลือกตั้งพรรคการเมืองบ้าง แม้มีนัยส าคัญแต่ก็มีค่าน้อยมาก (r<.1)
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183