Page 172 - kpi19903
P. 172

144



                       ทั้งนี้แผนภาพ Mosaic plot (รูปที่ 9.3) แสดงถึงสัดส่วนของประชาชนจ าแนกตามระดับการศึกษาสูงสุด
               และพฤติกรรมการไปเลือกผู้สมัครฯ ทั้งในระบบเขตและในระบบบัญชีรายชื่อ ซึ่งมีรูปแบบไม่แตกต่างกัน ยกเว้น

               การเลือกตั้งในระบบบัญชีรายชื่อ ที่ถ้าหากประชาชนไม่เคยเรียนหนังสือมาก่อนแล้วประชาชนจะมีแนวโน้มเลือก

               ผู้สมัครที่มาจากพรรคอื่น ๆ มากที่สุด (ประมาณร้อยละ 47)


























                      รูปที่ 9.3 สัดส่วนของประชาชนระหว่างระดับการศึกษาและพฤติกรรมการเลือกตั้งในระดับบุคคล



               9.5 สรุปผลกำรศึกษำปัจจัยทำงสังคมและเศรษฐกิจกับพฤติกรรมกำรเลือกตั้ง: กำรวิเครำะห์ระดับบุคคล


                       ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจกับพฤติกรรมการเลือกตั้งผู้สมัครจากพรรคการเมืองต่าง ๆ ส าหรับการ

               เลือกตั้งใน พ.ศ. 2554 พบว่า อาชีพ ระดับการศึกษา และสถานภาพการท างานของประชาชน น่าจะมีความส าคัญ
               ที่ท าให้ประชาชนมีพฤติกรรมการเลือกผู้สมัครแตกต่างกัน

                       ผู้วิจัยได้จ าแนกกลุ่มของอาชีพออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ 1) เกษตรกร 2) พนักงาน/ลูกจ้างบริษัทเอกชน 3)

               ประกอบธุรกิจ/กิจการส่วนตัว/ค้าขาย 4) รับจ้างทั่วไป 5) รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ 6) ไม่ได้ท างาน/
               แม่บ้าน ผลการศึกษาพบว่าประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการท าเกษตรกรรมมากที่สุด และมี

               สัดส่วนของประชาชนในแต่ละกลุ่มอาชีพเลือกผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยมากที่สุด โดยเฉพาะข้าราชการและ

               พนักงานรัฐวิสาหกิจที่เลือกผู้สมัครพรรคเพื่อไทย (ประมาณร้อยละ 50) ในขณะที่ประชาชนที่ประกอบอาชีพ
               รับจ้างทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์น้อยที่สุด (ประมาณร้อยละ 20) อย่างไรก็ตามในกลุ่มของ

               ประชาชนที่ไม่ได้ท างานหรือเป็นแม่บ้านนั้น พบว่าประชาชนในกลุ่มนี้เลือกผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยและกลุ่ม
               พรรคอื่น ๆ ไม่แตกต่างกันมากนัก (ประมาณร้อยละ 40) และจะเลือกสูงกว่าที่จะเลือกพรรคประชาธิปัตย์มาก

                       ระดับการศึกษาของประชาชนเป็นปัจจัยที่สะท้อนและแสดงถึงทิศทางการพัฒนาของประเทศ เนื่องจาก

               หากประชาชนที่มีการศึกษาสูงมักจะมีแนวโน้มที่มีอาชีพและมีรายได้ค่อนข้างดี และจะเป็นก าลังคนในการพัฒนา
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177