Page 167 - kpi19903
P. 167

139



               ตำรำงที่ 9.1 จ านวน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยระหว่างรายได้
                           ของครอบครัวและพฤติกรรมการเลือกตั้งในระดับบุคคล

                                                               N       M           SD      F-test  p-value
                กำรลงคะแนนเลือกผู้สมัครในระบบเขต
                  พรรคประชาธิปัตย์                            387  15,252.7  34,648.3       0.02      .982
                  พรรคเพื่อไทย                                568  15,185.6  47,834.3

                  พรรคอื่น ๆ                                  377  15,673.8  31,945.4
                กำรลงคะแนนเลือกผู้สมัครในระบบบัญชีรำยชื่อ
                  พรรคประชาธิปัตย์                            391  14,652.0  34,094.7       0.28      .759
                  พรรคเพื่อไทย                                575  15,046.5  47,560.5
                  พรรคอื่น ๆ                                  369  16,675.0  32,754.5


               9.2 อำชีพกับผลกำรเลือกตั้งในระดับบุคคล


                       ในการวิเคราะห์ได้จ าแนกกลุ่มของอาชีพออกเป็น 6 ระดับ ได้แก่ 1) เกษตรกร 2) พนักงาน/ลูกจ้าง

               บริษัทเอกชน 3) ประกอบธุรกิจ/กิจการส่วนตัว/ค้าขาย 4) รับจ้างทั่วไป 5) รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ และ

               6) ไม่ได้ท างาน/แม่บ้าน โดยประชาชนส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร (ร้อยละ 54) และมีสัดส่วนของประชาชนที่
               ลงคะแนนเลือกผู้สมัครในระบบเขตและบัญชีรายชื่อนั้นไม่แตกต่างกันมาก

                       ผลการวิเคราะห์ พบว่าร้อยละของประชาชนในทุกสาขาอาชีพมักลงคะแนนเลือกพรรคเพื่อไทยมากกว่า

               พรรคประชาธิปัตย์และอื่น ๆ ดังตารางที่ 9.2 โดยเฉพาะประชาชนที่เป็นข้าราชการมากกว่าร้อยละ 50 จะนิยม
               เลือกพรรคเพื่อไทยมากที่สุด ในขณะที่ประชาชนที่ประกอบอาชีพรับจ้างทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกพรรค

               ประชาธิปัตย์น้อยที่สุด (ร้อยละ 20) อย่างไรก็ตามในกลุ่มประชาชนที่ไม่ได้ท างานหรือเป็นแม่บ้าน กลับพบว่าจะ

               เลือกผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทยและกลุ่มพรรคอื่น ๆ ประมาณร้อยละ 40 แต่สูงกว่าที่เลือกพรรคประชาธิปัตย์มาก
                       ผลการทดสอบ Chi-square test of independence พบว่า อาชีพไม่ได้เป็นอิสระกับการเลือกพรรค

               การเมืองทั้งในระบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ

                       หากพิจารณาจากแผนภาพกระเบื้อง (Mosaic plot) อันแสดงค่า Pearson’s residual ดังรูปที่ 9.1
               พบว่า

                       1) ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการท าเกษตรกรรม มีแนวโน้มจะเลือกพรรค

               ประชาธิปัตย์มากกว่าเมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ ทั้งในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ
                       2) ประชาชนมีอาชีพรับจ้างทั่วไปมีแนวโน้มจะเลือกพรรคประชาธิปัตย์น้อยที่สุด เมื่อเทียบกับอาชีพอื่นๆ

               ทั้งในการเลือกตั้งแบบแบ่งเขตและบัญชีรายชื่อ
   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172