Page 164 - kpi19903
P. 164
136
เลือกพรรคประชาธิปัตย์ (2548 และ 2550) สัมพันธ์ทางบวกกับร้อยละของผู้ที่ไม่ประสงค์จะออกเสียงเลือกตั้ง
(r=.34 & .39 ตามล าดับ)
การที่พฤติกรรมบัตรเสีย การไม่ประสงค์ลงคะแนนเลือกตั้ง และการไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งเกิดขึ้นซ้ าในเขต
เลือกตั้งเดิมนั้น น่าจะเป็นผลมากจากสถานะทางสังคมเศรษฐกิจ (Socioeconomic status) ของพื้นที่นั้น ๆ เช่น
ในพื้นที่ที่คนมีรายได้และการศึกษาดีน่าจะมีแนวโน้มที่จะมีบัตรเสียน้อยและมีการไม่ไปใช้สิทธิเลือกตั้งสูง และมีผู้ที่
ไม่ประสงค์จะออกเสียงเลือกตั้งสูงเช่นกัน และเป็นไปในทางตรงกันข้างส าหรับพื้นที่เขตเลือกตั้งที่มีระดับการศึกษา
ต่ า มีรายได้ต่ า จะมีแนวโน้มที่จะมีบัตรเสียมาก มีผู้ไปใช้สิทธิเลือกตั้งมาก และมีผู้ประสงค์จะไม่ออกเสียงเลือกตั้ง
น้อย ผลการวิจัยนี้เป็นข้อค้นพบในบทที่ 7 ในส่วนของปัจจัยสัมพันธ์กับความตั้งใจไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
ตำรำงที่ 8.8 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อปี 2548 และ 2550 กับการใช้สิทธิเลือกตั้งปี
2554
กำรใช้สิทธิเลือกตั้ง ส.ส. ปี 2554 แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง
ไม่พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่ พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่
บัตรเสีย ไม่ประสงค์ ลงคะแนน ไม่มาใช้สิทธิ เลือกตั้ง บัตรเสีย ไม่ประสงค์ ลงคะแนน ไม่มาใช้สิทธิ เลือกตั้ง
.16**
.15
.04
.27**
-.19*
กำรเลือกตั้งแบบ บัญชีรำยชื่อ ปี 2548 ไทยรักไทย -.38** -.33** -.21** -.33** .35** -.12
.00
.16**
ชาติไทย
-.01
.00
.04
-.03
.41**
ประชาธิปัตย์
.00
-.07
-.01
มหาชน
.06
.14**
-.42**
พลังประชาชน .32** -.24** .33** .09** -.32** .25**
ประชาธิปัตย์ -.37** .50** -.28** -.25** .43** -.26**
กำรเลือกตั้ง แบบสัดส่วน ปี 2550 ชาติไทย .12* -.01 -.06 -.06 -.01 .09
-.01
.03
.03
.02
-.02
มัชฌิมาธิปไตย
.19**
.04
ประชาราช
.00
.07
-.02
-.06
.10
เพื่อแผ่นดิน .27** -.44** .20** .14** -.24** -.03
รวมใจไทยชาติพัฒนา .22** -.07 .01 .06 .04 -.02