Page 190 - kpi17721
P. 190

ภาพที่ 7 แสดงระดับของสภาวการณ์การขาดสารไอโอดีนในพื้นที่ตำบลนาพู่

                                            ระหว่างปี พ.ศ.2549-2557                                  ท้องถิ่นใจดี















                     ผลการสำรวจในระดับตำบลข้างต้น สอดคล้องกับผลการสำรวจจำนวนผู้ประสบภาวการณ์
               ขาดสารไอโอดีนลดลงและไม่มีผู้ป่วยคอพอกรายใหม่ทั้งในเด็กนักเรียนเยาวชนและหญิงตั้งครรภ์

               ดังผลสำรวจภาวะการขาดสารไอโอดีนของอำเภอเพ็ญเปรียบเทียบในระดับจังหวัดอุดรธานีและ
               ประเทศไทย ระหว่าง พ.ศ.2552-2555 พบว่า มีระดับที่ต่ำกว่าทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ

               ดังภาพที่ 8

                ภาพที่ 8 แสดงสภาวการณ์การขาดสารไอโอดีนของทารกแรกเกิดในอำเภอเพ็ญเปรียบเทียบกับ
                               จังหวัดอุดรธานีและประเทศไทยระหว่าง พ.ศ.2552 -2555




















                     รูปธรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่ คือ กรณีตัวอย่างผู้ป่วยโรคคอหอยพอกบางราย ที่เดิมต้องเข้ารับ     การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสวัสดิการสังคม

               การรักษาที่โรงพยาบาลและรับยามารับประทานเป็นจำนวนมาก แต่เมื่อรับประทานไข่ไก่เสริม
               ไอโอดีนทุกวัน เป็นระยะเวลา 4-5 เดือน หลังจากนั้นพบว่า ปริมาณความจำเป็นในการรับยาจาก
               โรงพยาบาลลดน้อยลงและมีผลตรวจร่างกายที่แข็งแรงมากขึ้น รวมไปถึงยังส่งผลดีต่อผู้ป่วย
               ดาวน์ซินโดรม (Down syndrome) และมีภาวะโรคเอ๋อ เช่น มีอาการไม่พูด ช่วยเหลือตนเองไม่ได้

               เชื่องช้า เซื่องซึม แต่เมื่อรับประทานไข่ไอโอดีนเป็นประจำและสม่ำเสมอ ก็สามารถเดินและพูดได้
               เกือบเป็นปกติ






                                                                             สถาบันพระปกเกล้า  18
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195