Page 558 - kpi17073
P. 558
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16 557
กลุ่มสูง
แห่ง top 25% หน่วย
เงินอุดหนุนต่อหัว 1,943 3,808 บาทต่อคน
ประชากร 1,943 8,096 คน
กลุ่มกลาง
เงินอุดหนุนต่อหัว 3,892 2,829 บาทต่อคน
ประชากร 3,892 6,044 คน
กลุ่มล่าง
bottom 25%
เงินอุดหนุนต่อหัว 1,940 2,733 บาทต่อคน
ประชากร 1,940 9,644 คน
ข้อดีของสูตรที่สาม
๏ สามารถลดความเหลื่อมล้ำทางการคลังได้มากที่สุด โดยที่ เทศบาล และ อบต.
กลุ่มล่าง จะได้รับเงินอุดหนุนประมาณ 3,847 บาทต่อหัว ขณะที่กลุ่มบนได้รับ
2,894 บาทต่อหัว และกลุ่มปานกลางเท่าเดิม
ข้อด้อย
๏ เทศบาล และ อบต. กลุ่มบน 1,943 แห่งได้รับผลกระทบจากเงินอุดหนุนบ้าง แต่ยังคง
ได้รับภาษีแบ่งยังคงเท่าเดิม
สรุป
บทความนี้เสนอการสังเคราะห์ความรู้จากการวิจัย เน้นศึกษาความเหลื่อมล้ำการคลัง
ท้องถิ่น และแนวทางขยายรายได้ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอนาคต (ระยะปานกลาง
คือปฏิรูปภาษี ระยะสั้นปฏิรูปเงินอุดหนุนเพื่อความเสมอภาค) คณะวิจัยค้นคว้าข้อมูลเชิงประจักษ์
จากสถิติการคลังท้องถิ่นซึ่งประมวลโดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและสำนักงาน
คณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เน้นกรณีศึกษา เทศบาลและ
อบต. รายได้จำแนกเป็น 3 ส่วน คือ รายได้ที่ท้องถิ่นจัดเก็บ ภาษีแบ่ง และเงินอุดหนุน นำมา
คำนวณเป็นรายได้ต่อหัว สรุปว่า ก) มีความเหลื่อมล้ำมิติพื้นที่สูง เนื่องจากการกระจุกตัว
ของเศรษฐกิจไทย ทำให้ฐานภาษีท้องถิ่น และภาษีแบ่งที่จัดสรร แตกต่างกันอย่างมาก เช่น
เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มบน (กรุงเทพและปริมณฑล และภาคตะวันออก) กับกลุ่มล่าง
(ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคเหนือ) ข) การจัดสรรเงินอุดหนุนมีอคติต่อคนชนบท การประชุมกลุ่มย่อยที่ 6
หมายถึง อบต. ได้รับเงินอุดหนุนต่อหัวต่ำกว่า เทศบาลตำบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร