Page 224 - kpi17073
P. 224
เห็นวา การทําหนาที่ในการตรากฎหมายอันเปนหนาที่หลักที่สําคัญของ ส.ส. นั้น ส.ส. ได สอบตก ใน
การทําหนาที่อยางไร
ภาพรวมการพิจารณากฎหมาย ตั้งแตป พ.ศ. 2551-2556
นับตั้งแต ปพ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2556 สภาผูแทนราษฎรมีการพิจารณากฎหมาย จํานวน 169
ฉบับ จากการเสนอรางพ.ร.บ. ทั้งสิ้น 375 ราง ึ่งการที่จํานวน ราง มีมากกวาจํานวนฉบับนั้นก็เพราะ
รางกฎหมายยางฉบับอาจมีการเสนอ รางประกบ มากกวา 1 ราง ึ่งอาจเสนอโดยคณะรัฐมนตรี ส.ส.
ประชาชน และ องคกรอิสระโดยรางที่เสนอจะมีเนื้อหาในทํานองเดียวกัน แตแตกตางกันในรายละเอียด
(ตารางที่ 1) การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16 223
ที่ 1 รางกฎหมายที่เขาสูการพิจารณา (มีการเสนอรางมากกวา 1 ราง ตอ รางกฎหมาย 1 ฉบับ)
ตารางที่ 1 ร่างกฎหมายที่เข้าสู่การพิจารณา (มีการเสนอร่างมากกว่า 1 ร่าง ต่อ ร่างกฎหมาย
(แบงตามประเภทผูเสนอ) พ.ศ. 2551-2556
1 ฉบับ) (แบ่งตามประเภทผู้เสนอ) พ.ศ. 2551-2556
น ิ ม
น ิ ม
ผ
ผู น ู น น น น น
ท ม 1
ท ม 1
คณะรัฐมนตรี ณะรัฐมนตรี
ค 87 87 51.
51.48 48
องคกรอิสระ คกรอิสระ
อง 8 8 4.73 4.73
7.69
ส.ส.
ส.ส. 13 13 7.69
ประชาชน
ประชาชน 0 0 0 0
คณะรัฐมนตรี ส.ส. ณะรัฐมนตรี ส.ส. 43 43 25.44 44
ค
25.
ค
คณะรัฐมนตรี ประชาชน ณะรัฐมนตรี ประชาชน 1 1 0.
0.59 59
ค 1 1 0.
0.59 59
คณะรัฐมนตรี องคกรอิสระ ส.ส. ณะรัฐมนตรี องคกรอิสระ ส.ส.
5.33 33
คณะรัฐมนตรี ส.ส. ประชาชน ณะรัฐมนตรี ณะรัฐมนตรี ณะรัฐมนตรี ส.ส. ประชาชน
ค ค ค 9 9 5.
3.55 55
อง 6 6 3.
องคกรอิสระ ส.ส. คกรอิสระ ส.ส.
ส 1 1 0.59 59
ส.ส. ประชาชน .ส. ประชาชน
0.
ม ม 1 1 1
1
ตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าการพิจารณากฎหมายในช่วงปี พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2556 จาก
ตารางที่ 1 แสดงใหเห็นวาการพิจารณากฎหมายในชวงป พ.ศ. 2551 – พ.ศ. 2556 จากจํานวน
จำนวนทั้งหมด 169 ฉบับ กฎหมายจำนวน 87 ฉบับ หรือคิดเป็นร้อย 51.48 มาจากการเสนอ
ทั้งหมด169 ฉบับ กฎหมายจํานวน 87 ฉบับ หรือคิดเปนรอย 51.48 มาจากการเสนอรางจาก
ร่างจากคณะรัฐมนตรีเพียงร่างเดียว ลำดับถัดมาจำนวน 43 ฉบับ หรือคิดเป็นร้อย 25.44 เป็น
คณะรัฐมนตรีเพียงรางเดียว ลําดับถัดมาจํานวน 43 ฉบับ หรือคิดเปนรอย 25.44 เปนรางที่เสนอโดย
ร่างที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรี และมีร่างในทำนองเดียวกัน ซึ่งเสนอโดย ส.ส. พิจารณาไป
คณะรัฐมนตรี และมีรางในทํานองเดียวกัน ึ่งเสนอโดย ส.ส. พิจารณาไปพรอมกัน และจํานวน 13
พร้อมกัน และจำนวน 13 ฉบับ หรือคิดเป็นร้อยละ 7.69 ที่เสนอโดย ส.ส. เพียงกลุ่มเดียว
ฉบับ หรือคิดเปนรอยละ 7.69 ที่เสนอโดย ส.ส. เพียงกลุมเดียว สวนการนําเสนอในประเภทอื่นๆ นั้นคิด
ส่วนการนำเสนอในประเภทอื่นๆ นั้นคิดเป็นร้อยละ 5 และต่ำกว่า
เปนรอยละ 5 และ ต่ํากวา
จึงเห็นได้ว่า การนำเสนอร่างกฎหมายเพื่อพิจารณานั้น ส่วนใหญ่ของร่างที่ถูกนำเสนอนั้น
จะเป็นการเสนอโดยคณะรัฐมนตรี (ซึ่งเป็นการนำเสนอของกระทรวงต่างๆ ผ่านคณะรัฐมนตรี)
3
ส่วนการนำเสนอที่ ส.ส. มีส่วนร่วมนั้น แม้จะมีอยู่เกือบครึ่งหนึ่งของการนำเสนอ (ดูตารางที่ 2)
แต่เมื่อพิจารณาการนำเสนอที่มาจาก ส.ส. เพียงกลุ่มเดียวก็จะเห็นว่ามีปริมาณที่ไม่น่าพึงพอใจ
6
ที่สำคัญ รัฐธรรมนูญปี 50 ที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการนำเสนอร่างกฎหมายนั้น
ก็จะเห็นว่าไม่ได้ผลเหมือนที่ได้ตั้งใจไว้ในขณะที่มีการร่างรัฐธรรมนูญ เพราะกฎหมายที่เสนอร่าง
โดยประชาชนนั้น มักจะมีร่างของคณะรัฐมนตรีหรือ ส.ส. ซึ่งเป็นร่างในทำนองเดียวกัน พิจารณา
ไปพร้อมกันเสมอ ไม่มีกรณีที่ร่างที่เสนอโดยประชาชน ถูกพิจารณาอย่างเป็นเอกเทศ ดังเช่น
ร่างของคณะรัฐมนตรีและสำหรับร่างขององค์กรอิสระนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นการนำเสนอเพียงร่าง
เดียวไม่มีการเสนอร่างประกอบจากคณะรัฐมนตรีหรือ ส.ส. ยกเว้น ร่าง พ.ร.บ. ประกอบ
รัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ. .... ที่มี ร่างของ ส.ส. เสนอประกบ
3 ข้อมูลที่นำเสนอทำให้เกิดการยืนยันอีกครั้งหนึ่งของทฤษฎีอำมาตยาธิปไตย หรือ Bureaucratic Politics ของ การประชุมกลุ่มย่อยที่ 2
Fred W. Riggs (1966) ที่การปกครองและบริหารของประเทศนั้นระบบราชการมีอิทธิพลในการบริหารและปกครอง
แม้ในช่วงระยะเวลาที่เรียกว่า “การเมืองไทยสมัยใหม่”