Page 219 - kpi17073
P. 219

ิ่ม      น           น      ม     แ            ม
                                                                                          1
                                        ิ่ม    ิท ิภ   น   ท   น  ที่  ผู แทน
                                                                                                   ท     า
                                                                                 า     ม า  ท า      ม า
                    ทน
                          ตัวเลขการออกไปใชสิท ิการเลือกตั้งทั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรในวันที่ 2 กุมภาพัน  2557 ที่
                   ผานมามีสถิติเพียงรอยละ 47.72 นับเปนสถิติที่ต่ําที่สุดนับตั้งแตมีการเลือกตั้งหลังการมีประชา ิปไตย
                   แบบครึ่งใบในประเทศไทย(ดูแผนภูมิที่ 1)และเปนสถิติที่ดิ่งตัวลงมาหลังจากการเพิ่มขึ้นใน 10 ปที่ผาน
                   มา ถือไดวาเปนตัวบงชี้อยางหนึ่งในหลายๆ อยางของตัวบงชี้แหงป ญหาวิก ติการเมืองไทยที่คอยๆ กอ
                   ตัวขึ้นมา เพราะการปฏิเส การใชสิท ิการมีสวนรวมในทางการเมืองในระบอบของประชา ิปไตยดวย
                   การเลือกตั้งไดบงบอกถึงอาการ  เบื่อการเมือง  ( o itica    path )ที่เกิดขึ้นกับพลเมืองสวนหนึ่งของ
                   ประเทศไทย  ึ่งอาการดังกลาวเปนหนึ่งในสามของอาการเบื่อการเมืองนั่นคือ หนึ่ง การกลัววาจะเกิดสิ่ง
                   หรือเหตุการณอันไมพึงปรารถนาจากการเขาไปมีสวนรวมทางการเมือง สอง การไมเห็นคาของการไปมี
                   สวนรวม และ สาม การไมอยากมีสวนรวมไปเสียเฉยๆ  ึ่งการออกไปใชสิท ิเลือกตั้งที่มีสถิติต่ํานี้จัดได
           218     การประชุมวิชาการ
                   วาเปนอาการการเบื่อการเมืองแบบที่สอง (อรรถสิท ิ  พานแกว 2556)
                   สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16

                  แผนภูมิที่ 1 สถิติผู้ออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2531 ถึง พ.ศ. 2557 (ร้อยละ)
                   แผนภูมิที่ 1 สถิติผูออกไปใชสิท ิเลือกตั้ง ป พ.ศ. 2531 ถึง พ.ศ. 2557 (รอยละ)







                  ที่มา :  เวปไซต์ระบบฐานข้อมูลด้านสังคมและคุณภาพชีวิต สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ http://
                   ที่มาเวปไ ตระบบฐานขอมูลดานสังคมและคุณภาพชีวิต สํานักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
                       social.nesdb.go.th/SocialStat/StatReport_Final.aspx?reportid=589&template=2R1C&yeartype=M&
                        http://socia .nesd . o.th/ ocia  tat/ tat epo t_ ina .aspx? epo tid=589&temp ate=2 1 & ea t pe= &s  catid=26  สืบคนเมื่อ
                        17 กรกฏาคม 2557
                       subcatid=26, สืบค้นเมื่อ 17 กรกฏาคม 2557

                 แผนภูมิที่ 1 ความเชื่อมั่นของประชาชนตอสถาบันทางการเมืองและบุคคลทางการเมือง พ.ศ. 2546 –
                  แผนภูมิที่ 2 ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อสถาบันทางการเมืองและบุคคลทางการเมือง พ.ศ.
                 พ.ศ. 2553 (รอยละ)
                  2546 – พ.ศ. 2553 (ร้อยละ)


                   1
                     บทความนี้ปรับทอนจาก รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณเรื่อง  เพิ่มดุลอํานาจระหวาง  นักการเมือง  และ  พรรคการเมือง :
                   เพิ่มประสิท ิภาพในการทําหนาที่  ผูแทนราษฎร   (ในโครงการสูศตวรรษที่เกา กาวใหมของประชา ิปไตยไทย) ผูเขียนขอขอบคุณ
                   วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกลา สําหรับทุนสนับสนุนงานวิจัยนี้



                                                                1























                 ที่มา: สถาบันพระปกเกลา (หนังสือมองอดีต แลอนาคตวัดระดับความเชื่อมั่นของประชาชนตอสถาบันตางๆและความพึงพอใจตอการ
                  ที่มา:  สถาบันพระปกเกล้า (หนังสือมองอดีต แลอนาคตวัดระดับความเชื่อมั่นของประชาชนต่อสถาบันต่างๆ และ
                 บริการของรัฐ พ.ศ.2546-2553 สืบคนจาก http://www.kpi.ac.th/kpith/index.php?option=com _content&task=view&id=698 เมื่อ 2

                       ความพึงพอใจต่อการบริการของรัฐ พ.ศ.2546-2553 สืบค้นจาก http://www.kpi.ac.th/kpith/

                 มิถุนายน 2557)


                       index.php?option=com _content&task=view&id=698 เมื่อ 2 มิถุนายน 2557)
                        อาการเบื่อการเมืองของคนไทยไมไดเพิ่งเกิดขึ้นในชวงระยะเวลานี้ แตไดมีสัญญาณอื่นที่บงบอก
        การประชุมกลุ่มย่อยที่ 2   มาไดสักระยะหนึ่งแลว ดังที่ปรากฏในผลการสํารวจความคิดเห็นตางๆ จากประชาชนทั่วไปในเรื่องที่
                       อาการเบื่อการเมืองของคนไทยไม่ได้เพิ่งเกิดขึ้นในช่วงระยะเวลานี้ แต่ได้มีสัญญาณอื่น
                  ที่บ่งบอกมาได้สักระยะหนึ่งแล้ว ดังที่ปรากฏในผลการสำรวจความคิดเห็นต่างๆ จากประชาชน
                 เกี่ยวของกับการเมืองที่ผลการสํารวจมักจะออกมาในทํานองที่วาภาพลักษณของการเมืองและ
                  ทั่วไปในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการเมืองที่ผลการสำรวจมักจะออกมาในทำนองที่ว่าภาพลักษณ์ของ
                 บุคคลที่เกี่ยวของกับการเมืองไทยไมไดอยูในภาพที่ดีในสายตาของคนไทยเลย ตัวอยางที่เห็น

                 ไดชัดอยางหนึ่งคือ ขอมูลจากการสํารวจความคิดเห็นของประชาชนทั่วประเทศของสถาบันพระปกเกลา
                 สถาบันพระปกเกลา 2553) ในประเด็นความเชื่อมั่นที่มีตอสถาบันและบุคคลทางการเมือง อันไดแก (1)

                 นายกรัฐมนตรี (2) รัฐบาล/คณะรัฐมนตรี (3) สถาบันพรรคการเมือง (4) สมาชิกสภาผูแทนราษฎรและ
                                 2
                 (5) สมาชิกวุฒิสภา  ตั้งแตพ.ศ. 2546 ถึง พ.ศ. 2553ดังแสดงใหเห็นในแผนภูมิที่ 2 จะเห็นวาคา ความ
                 เชื่อมั่นที่ประชาชนมีใหแกสถาบันและบุคคลทางการเมืองของประเทศนั้นมีแนวโนมที่ลดลงมาตั้งแต
                 พ.ศ. 2547  แมคาตัวเลขความเชื่อมั่นจะเพิ่มขึ้นหลัง พ.ศ. 2550  แตก็ไมไดเพิ่มสูงจนถึงระดับที่เคย

                 เปนมากอน ที่สําคัญ เมื่อดูใหเฉพาะเจาะจงก็จะเห็นวาพรรคการเมืองและสมาชิกสภาผูแทนราษฎรนั้นมี


                 2
                  ขอมูลในป พ.ศ. 2547 ของ สมาชิกสภาผูแทนราษฎร และ สมาชิกวุฒิสภา ไมไดถูกรายงานไว


                                                             2
   214   215   216   217   218   219   220   221   222   223   224