Page 292 - kpiebook67020
P. 292

291




           กฎหมายมาตรา 112 นอกจากการปราศรัยแล้ว ผู้ชุมนุมยังมีกิจกรรมแสดงออก

           อย่างสันติอีกหลากหลายรูปแบบ เช่น น�าชอล์กสีต่าง ๆ มาเขียนข้อความ
           “ปล่อยเพื่อนเรา” “ยกเลิก 112” ลงพื้นถนน, การน�าหุ่นศพจ�าลองห่อด้วยผ้าขาว
           เขียนข้อความ 112, การแสดงศิลปะปลดแอก และมีการน�าป้ายผ้ามาให้ผู้ชุมนุม

           เขียนแสดงความเห็นทางการเมืองด้วย (มติชน, 2564ค)


                  ในวันที่ 28 มีนาคม 2564 ต�ารวจได้สลายการชุมนุมหมู่บ้านทะลุฟ้า
           ซึ่งปักหลักชุมนุมบริเวณหน้าท�าเนียบรัฐบาลมาตั้งแต่วันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเรียกร้อง

           4 ข้อ ได้แก่ ปล่อยแกนน�าราษฎรและแนวร่วมที่ถูกจับกุม, ร่างรัฐธรรมนูญใหม่,
           ยกเลิกกฎหมายอาญามาตรา 112, และ พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา ต้องลาออก

           เจ้าหน้าที่ต�ารวจควบคุมฝูงชนได้เข้าสลายการชุมนุม โดยอ้างเหตุผลว่าผู้ชุมนุม
           ฝ่าฝืนพรก. ฉุกเฉิน มีผู้ชุมนุมถูกจับกุมทั้งหมด 64 คน ถูกน�าไปสอบสวนที่กองบังคับการ

           ต�ารวจตระเวนชายแดนภาค 1 จ.ปทุมธานี และมีพระสงฆ์ 2 รูปถูกน�าตัวไปสึก
           ที่วัดเบญจมบพิตร (มติชน, 2564ข)


                  ในวันที่ 4 เมษายน 2564 นักเคลื่อนไหวทางการเมือง ทั้งอดีตแกนน�า
           คนเสื้อแดง คนเสื้อเหลือง กปปส. และประชาชน ได้จัดกิจกรรม “ไทยไม่ทน

           สามัคคีประชาชน เพื่อประเทศไทย” ที่อนุสรณ์พฤษภาประชาธรรม ออกมาเคลื่อนไหว
           โดยมีเป้าหมายเพียงข้อเดียวเท่านั้น คือ ขับไล่ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยมีแกนน�า

           คนส�าคัญ ได้แก่ นายจตุพร พรหมพันธุ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการ
           แห่งชาติ (นปช.) (BBC Thai, 2564ง) ต่อมาในวันที่ 29 เมษายน 2564 กลุ่มราษฎร

           เดินทางมาชุมนุมที่หน้าศาลอาญา รัชดาภิเษก ตามที่กลุ่มแนวร่วมธรรมศาสตร์และ
           การชุมนุมนัดยื่นจดหมายเรียกร้องศาลให้ประกันตัวแกนน�าและแนวร่วมกลุ่มราษฎร

           มีผู้ชุมนุมหลายสิบคนเข้ามาอยู่ในบริเวณพื้นที่หน้าบันไดศาล ได้มีการชูป้ายเขียน
   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296   297