Page 277 - kpiebook67020
P. 277

276  การศึกษาการป้องกันวิกฤตสังคมในอนาคต



               4.1.4 แนวทางการแก้ไขปัญหาวิกฤตการณ์สังคมในกรณี
        ความเหลื่อมล�้าในกระบวนการยุติธรรมของพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

               แนวทางการแก้ไขปัญหาต้องเริ่มต้นจากมีเป้าหมาย เช่น สังคมสันติสุข

        เป็นอย่างไร ก�าหนดโดยคนส่วนใหญ่ แล้วศึกษา ตรวจสอบบริบทสังคม วัฒนธรรม
        มีทั้งบวกและลบ หลายปัญหา อุปสรรค อาจต้องแก้ลึกต้นเหตุ (รากเหง้า) เปลี่ยนแปลง

        โครงสร้างสังคมบางอย่างเพื่อความเท่าเทียม เป็นธรรม คือออกจากอ�านาจนิยม-อุปถัมภ์
        ด้วยสันติวิธีเพื่อความยั่งยืนและพัฒนาก้าวหน้าสู่สังคมสันติสุขที่ต้องการ


               1) การปรับกฎหมายของการบังคับใช้ในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้

               รัฐต้องทบทวนการคงกฎหมายความมั่นคงในพื้นที่ และกระบวนการบังคับใช้

        กฎหมายความมั่นคงให้สอดคล้องกับความจ�าเป็นที่เป็นอยู่จริงในพื้นที่เป็นส�าคัญ

        โดยมีเป้าหมายให้คดีความมั่นคงในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้อยู่ภายใต้กฎหมายปกติ

               2) การบังคับใช้กฎหมายที่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญหลักการสากลและ

        หลักนิติธรรมต่อผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหาหรือจ�าเลยในคดีความมั่นคง

               ในที่นี้ หมายถึง การน�าบุคคลเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมและด�าเนินการ

        ตามกฎหมายบ้านเมืองให้ได้รับบทลงโทษจากค�าพิพากษาของศาลชั้นต้น อุทธรณ์
        ฎีกา การใช้ความรุนแรงทางอาวุธแทนการน�าบุคคลเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมโดยรัฐ

        ในรูปแบบนี้นอกจากจะท�าลายสิทธิในชีวิตแล้วด้วยนั้นยังเป็นการท�าลายหลักนิติธรรม
        ของประเทศด้วย เจ้าหน้าที่รัฐจะต้องไม่ใช้ความรุนแรงในการท�าลายชีวิตประชาชน

        โดยไม่ผ่านการพิจารณาคดีโดยศาลยุติธรรมให้มีค�าพิพากษาของศาลสูงสุดตัดสินลงโทษ

               ตามหลักสากล เรื่องของสิทธิในชีวิต (Rights to life) ปรากฏอยู่ใน มาตรา 3

        ของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1945 และในมาตรา 6 ของ
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282