Page 121 - kpiebook67002
P. 121
เป็นต้น จ าเป็นต้องมีการอับโหลดเอกสารลงบนสื่อสังคมออนไลน์ ซึ่งจ าเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีและการ
พัฒนาที่ทันสมัย
(4) รัฐสภาส่วนใหญ่ยังมีข้อกังวลเกี่ยวกับความปลอดภัยของข้อมูลที่ถูกอัพโหลดลงบน
117
อินเตอร์เน็ต แพลตฟอร์มต่าง ๆ มีความเสี่ยงที่จะถูกโจมตีทางไซเบอร์
สามารถสรุปได้ว่า รัฐสภาจ าเป็นที่จะต้องก าหนดขอบเขตที่ชัดเจนในการท างานเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ
การสร้างสัมพันธ์กับประชาชน รัฐสภาต้องมีการพัฒนาการให้บริการข้อมูลแก่ประชาชนในวงกว้าง มีนโยบาย
การสื่อสารที่ออกแบบมาเพื่อดึงดูดให้ประชาชนสนใจและปลุกเร้าให้พวกเขามีความสนใจเรื่องราวต่าง ๆ
ที่เกิดขึ้นในรัฐสภา จนท าให้รัฐสภามีข้อมูลที่จะสามารถพัฒนาปรับปรุงการท างานให้ดีขึ้นได้ และต้องมีการ
ส่งเสริมให้มีการส่วนร่วมของประชาชนเป็นหนึ่งปัจจัยในการพัฒนาช่องทางการสื่อสาร ต้องท าให้ความสัมพันธ์
ที่ซับซ้อนระหว่างรัฐสภาและการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของรัฐสภา และการอภิปรายในรัฐสภาเป็น
เรื่องทั่วไป ที่ทุกคนให้ความสนใจและสามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งต้องเป็นการ
สื่อสารทั้งในรูปแบบส่วนตัวและส่วนร่วมได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ายที่สุดอาจกล่าวได้ว่าการสื่อสารเป็นส่วน
หนึ่งของกระบวนการทางการเมือง ดังนั้นสถาบันทางการเมืองอย่างรัฐสภาต้องใช้วิธีการสื่อสารต่อสังคมใน
รูปแบบที่สมดุลและเหมาะสม โดยต้องค านึงถึงเสรีภาพและความเป็นพหุนิยมที่เป็นอยู่ในสังคม เพื่อส่งเสริม
118
ความก้าวหน้าของสิทธิพลเมืองและประชาธิปไตย อีกทั้งเป็นการสร้างความเชื่อมั่นในสถาบันทางการเมือง
ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและรัฐสภา มีปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 3 ประการ คือ ประชาชนต้องการ
ข้อมูลเกี่ยวกับการท างานของรัฐสภา รัฐสภาต้องมีความรับผิดชอบและตอบสนองต่อข้อกังวลของสาธารณะ
และสุดท้ายคือการตอบสนองความต้องการของประชาชน ด้วยเหตุนี้จึงเกิดเป็นปัญหาเรื่องช่องว่างในการ
สื่อสาร จึงจ าเป็นต้องแก้ปัญหาการขาดความรู้ของประชาชนเกี่ยวกับรัฐสภาและกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น
ในรัฐสภา
เมื่อหันกลับมาทบทวนรัฐสภาไทย พบว่าแม้ว่ารัฐสภาไทยจะมีการพัฒนาช่องทางใหม่ ๆ ในการสื่อสาร
กับประชาชน และยังคงผลิตรายการผ่านสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์รัฐสภาเพื่อสร้างการสื่อสาร
กับประชาชนทั่วประเทศเช่นเดิม โดยมีการขยายไปสู่แพลตฟอร์มออนไลน์เพื่อครอบคลุมประชาชนที่มีความ
หลากหลาย แต่ทั้งนี้ยังพบว่ามีปัจจัยที่ท้าทายการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน หรือการสื่อสารระหว่างประชาชน
กับรัฐสภา คือ การที่สมาชิกรัฐสภาและประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และขาดทักษะ
ในการใช้เครื่องมือที่เกี่ยวข้อง ส าหรับรัฐสภาไทยจ าเป็นต้องมีการพัฒนาทิศทางในกระบวนการท างานของ
รัฐสภาทั้งในเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติ เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารของรัฐสภาต่อประชาชนโดย
ต้องตระหนักถึงการส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างรัฐสภากับประชาชน รัฐสภาจึงจ าเป็นต้องมีการเพิ่ม
117 Ukera Seungwa Emmanuel, “Seminar topic Reaching out: Parliament, Social media, and public
engagement,”
118 Caldoro, “Information Report on parliaments and media,” Retrieved from
https://assembly.coe.int/nw/xml/XRef/X2H-Xref-ViewHTML.asp?FileID=8105&lang=EN (22 June 1994)
120