Page 92 - kpiebook66032
P. 92
สำหรับเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี มีฐานข้อมูลที่ถูกปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันทุก
3 เดือน เชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานภายในและภายนอกเทศบาลเพื่อสร้างเครือข่าย
บูรณาการบริการสาธารณะ ปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานของตนเองและการจัดสวัสดิการ
ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD) สิทธิ สวัสดิการตามกฎหมาย ลดปัญหาความเหลื่อมล้ำ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ให้ประชาชน และวางแผนจัดตั้งกองทุนชุมชนจัดการตนเองเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชน
5. ผลลัพธ์สูงสุด (Ultimate outcome) คือ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเข้าถึง
ในขั้นตอนนี้ มีการติดตามประเมินผล แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ การติดตาม
ประเมินผลระยะสั้น และการติดตามประเมินผลระยะยาว การติดตามประเมินผลระยะสั้น
เป็นภารกิจของเจ้าหน้าที่กองสวัสดิการสังคม ติดตามประเมินผลการเข้าถึงสิทธิสวัสดิการ
ตามกฎหมาย คุณภาพชีวิต และความพึงพอใจ ตรวจสอบปัญหาความเหลื่อมล้ำในพื้นที่
และปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันทุก 3 เดือน
ส่วนการติดตามประเมินผลระยะยาวและขยายผล เน้นติดตามประเมินผลการจัด
สวัสดิการให้ประชาชนและนำผลการประเมินไปปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานปีละ 1 ครั้ง
การเชื่อมโยงฐานข้อมูลกับหน่วยงานภายใน/ภายนอกเทศบาล เพื่อสร้างเครือข่ายบูรณาการ
บริการสาธารณะ และวางแผนและดำเนินการจัดตั้งกองทุนชุมชนจัดการตนเอง เพื่อเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของชุมชน
3) การประเมินโครงการ
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่น กิจกรรม One data for all ภายใต้โครงการพัฒนาระบบข้อมูลครัวเรือนชุมชนเทศบาล
มีการประเมินผลความพึงพอใจ โดยประเมินผลความพึงพอใจ ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
นครสุราษฎร์ธานี มีการรายงานผลปฏิบัติงาน มีการถอดบทเรียน ดำเนินการต่อเนื่องและค้นหา
เป้าหมายเพิ่มเติม
โดยผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ย 4.49 โดยข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ เจ้าหน้าที่โครงการมีบุคลิกภาพดี อัธยาศัยดี
ใส่ใจการให้บริการ ค่าเฉลี่ย 4.59 รองลงมาคือเจ้าหน้าที่โครงการมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ
อธิบายชี้แจง แนะนำขั้นตอนการขอรับบริการได้ชัดเจน เข้าใจง่าย ค่าเฉลี่ย 4.55 โครงการนี้
ช่วยสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเทศบาลกับผู้รับบริการ ค่าเฉลี่ย 4.51 ทั้งนี้ มีข้อเสนอแนะ
เพิ่มเติมว่า ควรจัดให้มีกิจกรรมการสำรวจความต้องการกายอุปกรณ์ของผู้พิการ ควรจัดให้มี
สถาบันพระปกเกล้า