Page 90 - kpiebook66032
P. 90
พิกัดทางภูมิศาสตร์แสดงแหล่งที่อยู่อาศัย (GPS) ของกลุ่มเปราะบางเป็นระบบฐานข้อมูลจาก
แหล่งเดียวสำหรับทุกคน (One data for all)
ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD) ไม่ได้ มาไม่สะดวก ทำให้ได้คิดต่อว่า ทำอย่างไรดีประชาชนจึงจะสามารถ
“ต่อมาเกิดการระบาดโควิด 19 ประชาชนเข้ามาที่สำนักงานเทศบาล
รับบริการจากที่บ้านได้เลย ซึ่งการจัดเก็บข้อมูลลงใน Google My Maps
ก็สามารถตอบโจทย์กับสถานการณ์ตอนนั้นได้เป็นอย่างดี”
76
ระยะที่ 3 เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีได้ดำเนินการใช้ฐานข้อมูล One data for all กับ
ทุกชุมชน/ หมู่บ้านในเขตพื้นที่ เพื่อจัดสวัสดิการที่จำเป็นและจัดให้มีบริการสาธารณะแบบ
เฉพาะเจาะจงต่อความต้องการของประชาชน (Tailor-made services) บนพื้นที่ของข้อมูล
ที่ถูกต้อง รวมไปถึงการให้อาสาสมัครเตรียมขยายผลและรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ให้เข้ามาอยู่ใน
ฐานข้อมูล One data for all เพิ่มขึ้น
กระบวนการดำเนินงาน แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ การออกแบบ การนำไป
ปฏิบัติ และการประเมินผลงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) การออกแบบโครงการ
ในขั้นตอนนี้ ทีมงานจากกองสวัสดิการ คือ นักพัฒนาชุมชนและนักสังคมสงเคราะห์
ได้ออกแบบกิจกรรมบนฐานการใช้ IT โดยมุ่งไปที่ EX-RAY C Model เพื่อเป็นกลไกให้เจ้าหน้า
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่น EX-RAY C Model คืออะไร
ได้ทำงานร่วมกับภาคประชาชน อาสาสมัคร GIS
EX: Exactly responsiveness focus คือ การลงพื้นที่หากลุ่มเป้าหมาย /
R: Reliability & resource sharing and human development คือ สร้างความน่าเชื่อถือ
ของทีมงาน มีการแบ่งปันทรัพยากรและการพัฒนาบุคลากร เงินทุน ความรู้ และเทคโนโลยี /
A: Appreciation in own family คือ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าการทำงาน ทั้งกับผู้รับบริการ
“ทุกคนเป็นครอบครัวเดียวกัน”/ Y: Yourself-confident คือ เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเอง
เชื่อมั่นในศักยภาพของชุมชน และ C: Community participation in urban areas คือ
การทำงานร่วมกันในพื้นที่ระดับชุมชน
76 Personal communication, 21 มีนาคม 2566.
สถาบันพระปกเกล้า