Page 200 - kpiebook66032
P. 200

ตารางที่  3: บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                                 ประเภทบุคลากร                            จำนวน  (คน)

                                                                               39
             ข้าราชการ/พนักงาน
     ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD)   ที่มา: กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ เทศเมืองแม่เหียะ. เอกสารประกอบการนำเสนอผลงานรางวัลพระปกเกล้าทองคำ
            2. ลูกจ้าง(ประจำ)
                                                                               1
                                                                               64
            3. พนักงานจ้าง
            4. พนักงานจ้างเหมา
                                                                               50
            รวม
                                                                              154


               2565 ด้านการเสริมสร้างเครือข่ายรัฐ  เอกชน  และประชาสังคม. เสนอ 2 สิงหาคม 2565. (เอกสารไม่ตีพิมพ์เผยแพร่),
               หน้า 3.


           ภาพรวมการบริหารจัดการและการทำงานของเทศบาลเมืองแม่เหียะ

                 ในด้านการบริหารจัดการ “เทศบาลเมืองแม่เหียะ” มีหนึ่งในเป้าหมายที่สำคัญ คือ
           ความพยายามในการสร้างเมืองให้ดึงดูดคนรุ่นใหม่มาใช้ชีวิตและเติบโตเป็นกำลังสำคัญ
           ในการพัฒนาศักยภาพเมือง เทศบาลจึงพลิกโฉมในการพัฒนาบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน

           ให้มีความทันสมัย รวดเร็ว ฉับไว โปร่งใส ตรวจสอบได้ โดยยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน
                                                                         217
           การพลิกองค์กรของเทศบาลเมืองแม่เหียะนี้เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558  ที่เทศบาลพบว่า
           การเป็นเมืองของพื้นที่เทศบาลเมืองแม่เหียะมีการเจริญเติบโตมากขึ้น ซึ่งมาพร้อมกับปริมาณ
           งานและภารกิจที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น เทศบาลมีการปรับองค์กร เป็นลำดับขั้น ดังนี้
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่น   ซึ่งทำหน้าที่ตัดสินใจในตัวเลือกต่าง ๆ ที่ดีที่สุดจากนโยบายหรือข้อเสนอที่ทางสมาชิกสภาและ
                 ขั้นที่ 1 จัดวางองค์กรให้ผู้บริหารทำงานแบบ CEO-Chief Executive Officer


           พนักงานเสนอ รวมถึงปัญหาหรือข้อเสนอของประชาชนพบ


                 ขั้นที่ 2 ระดมความเห็นจากประชาชนและทุกภาคส่วน เพื่อทราบความต้องการของ
           แต่ละฝ่าย


                 ขั้นที่ 3 ปรับวัฒนธรรมองค์กร โดยเริ่มจากการให้โอกาสผู้ที่มีความตั้งใจจะสร้างสรรค์
           งานดี ๆ ให้องค์กร และวางรากฐานการทำงานเป็นทีมด้วยการสื่อสารวัฒนธรรมในการทำงาน


              217   ธนวัฒน์ ยอดใจ, “ธรรมาภิบาลในการบริหารงานท้องถิ่นด้านการบริการประชาชน : เทคโนโลยีสารสนเทศ
           กับการให้บริการประชาชน,” ใน รายงานการสัมมนาหลักสูตรวุฒิบัตรการเสริมสร้างธรรมาภิบาลท้องถิ่น รุ่น 1, วันที่
           17 กันยายน 2565, ณ สถาบันพระปกเกล้า.



        1      สถาบันพระปกเกล้า
   195   196   197   198   199   200   201   202   203   204   205