Page 451 - kpiebook65063
P. 451

“ ทาง อบต. เราก็สนับสนุนอาหารนะอาจารย์... เห็นการร่วมแรงร่วมใจ

                 ของชาวบ้านแล้วเราก็ดีใจ... งบที่เราให้ส่วนใหญ่เป็นงบในการสร้างฝายและการดูแล
                 รักษาฝาย...”
     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19   สองขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่หนึ่งการจัดทำฝายที่สามารถกักเก็บน้ำได้ จะเห็นได้ว่าสถาบันการศึกษา
                                                  หัวหน้าสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล




                 จากที่กล่าวมาข้างต้นสำหรับการดำเนินนวัตกรรมในระยะที่สามเน้นขั้นตอนสำคัญ ๆ


           คือมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายเข้ามามีบทบาทสำคัญในการจัดทำฝายโดยเป็นผู้ที่นำหลักวิชาการ

           ในการจัดทำฝายประกอบกับความรู้ของชาวบ้านในการหาพื้นที่ต้นน้ำในการจัดทำฝายเพื่อทำให้
           เกิดฝายที่สามารถเก็บกักน้ำได้ในรัศมีสองเมตรซึ่งเปรียบเสมือนธนาคารน้ำใต้ดินของป่า ทำให้

           แก้ปัญหาน้ำแล้งได้ เกษตรกรจึงมีน้ำในการเพาะปลูกและพื้นที่ป่าได้รับการฟื้นฟู โดยผู้มีบทบาท
           หลักในการจัดทำฝายคือคณะกรรมการหมู่บ้าน ชาวบ้าน และนักศึกษาสถาบันราชภัฏ
           ขั้นตอนที่สองเป็นขั้นตอนปรับปรุงเส้นทางในการเข้าไปดูแลฝายเพื่อทำให้อาสาดูแลฝาย

           และการเข้าไปลาดตระเวนได้สะดวกมากขึ้น และการสร้างเครือข่ายในการบำรุงรักษาฝายและ
           เฝ้าระวังไฟป่า ซึ่งผู้ที่มีบทบาทหลักในการเป็นเครือข่ายเฝ้าระวังดังกล่าวคือคนในชุมชนและ
     ส่วนที่   บันทึกเรื่องเด่นรางวัลพระปกเกล้า: ท้องถิ่นกับบริการสาธารณะ
           คณะกรรมการหมู่บ้าน โดยองค์การบริหารส่วนตำบลป่าตึงทำหน้าที่ในการสนับสนุนงบประมาณ
           เกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์ในการสร้างฝายและบำรุงรักษาฝาย


                                          รูปภาพการจัดทำฝาย

































          0    สถาบันพระปกเกล้า
   446   447   448   449   450   451   452   453   454   455   456