Page 334 - kpiebook65063
P. 334

ในการพัฒนาเมืองด้วยทุนทางวัฒนธรรมชุมชน โดยมีผู้นำเป็นตัวแปรสำคัญและมีบทบาท

               ในการขับเคลื่อนวิสัยทัศน์ในการพัฒนาพื้นที่ทางวัฒนธรรม

                     มองอนาคตร่วมกันมีการยอมรับกติกามีวินัย ทุกภาคส่วนเป็นส่วนหนึ่งของโครงการและ

               เป็นเจ้าของโครงการร่วมกัน และสามารถขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาเมืองด้วยทุนทางวัฒนธรรม
               ชุมชนให้เป็นวาระสาธารณะของพื้นที่ผ่านเวทีการทำกิจกรรมร่วมกัน โดยเทศบาลร่วมกับพหุภาคี

               ซึ่งเกิดขึ้นและกลายเป็นตลาดวัฒนธรรม เกิดรูปแบบการทำงานภายใต้เครือข่ายทางวัฒนธรรม
               มีกองทุนทางวัฒนธรรม จนได้รับการยอมรับให้เป็นต้นแบบระดับประเทศ และมีการพัฒนาพื้นที่     ท้องถิ่นกับภารกิจที่ท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19
               ให้เจริญยิ่งขึ้นโดยใช้ ระบบ Logistics ในการรวบรวมสินค้าและวัฒนธรรมภาคใต้ได้อย่างยั่งยืน

               ตามเป้าหมายของโครงการต่อไปอย่างยั่งยืน

                รูปภาพผู้ค้า สินค้าหัตถกรรม ศิลปะการแสดง กิจกรรมต่าง ๆ และบรรยากาศการท่องเที่ยว

                                           โครงการหลาดชุมทางทุ่งสง







































                     แนวทางการพัฒนาในอนาคตได้มีการกำหนดทิศทางและรูปแบบของการขับเคลื่อน                ส่วนที่   ภารกิจที่ท้าทายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหลังวิกฤตโควิด-19

               โดยมุ่งเน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและสร้างกลไกการทำงานของทุกภาคส่วน
               เพื่อร่วมกันสร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการรายได้ รวมทั้งการมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน





                                                                              สถาบันพระปกเกล้า    2
   329   330   331   332   333   334   335   336   337   338   339