Page 138 - kpiebook65022
P. 138

สิ่งแวดล้อมในโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหินบ่อนอก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (อารีย์วรรณ ทัตตะศิริ, 2543)
               ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยส าคัญที่ส่งผลกระทบต่อนโยบายสาธารณะ งานวิจัยการเคลื่อนไหวทางการเมืองของ

               กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในจังหวัดน่าน ต่อโครงการโรงไฟฟ้าลิกไนต์หงสา (รุ่งทิวา หนักเพ็ชร, 2556) ศึกษา
               เกี่ยวกับปัจจัยที่น าไปสู่การเกิดขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดน่าน
               และงานวิจัยรูปแบบการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของประชาชนรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง
               จังหวัดฉะเชิงเทรา (ฐนกร ศิลป์สาคร, 2563) ที่ศึกษาเกี่ยวกับปัญหาทางสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อ

               ประชาชนรอบโรงไฟฟ้าบางปะกง

                              งานวิจัยประเด็นพลังงานทั้งสามเรื่องต่างมีข้อค้นพบในประเด็นการมีส่วนร่วมของประชาชน
               ในแง่ที่ว่า การท าโครงการด้านพลังงานโดยรัฐที่ไม่ประสบความส าเร็จ เพราะขาดการมีส่วนร่วม ทั้งที่เป็น
               ผู้ได้รับผลกระทบ เมื่อไม่มีพื้นที่การมีส่วนร่วม จึงเกิดการแสดงออกโดยการรวมตัวชุมนุมคัดค้าน ดังที่ อารีย์วรรณ
               ทัตตะศิริ พบว่า ปัจจัยด้านอ านาจชุมชน ความแตกต่างของผลประโยชน์ในพื้นที่ และการขาดการรับฟัง

               ความคิดเห็นจากประชาชน มีผลท าให้การก่อสร้างโครงการต้องล่าช้าออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้าน
               การเมืองที่ขาดการมีส่วนร่วมและรับฟังความเห็นจากประชาชน (อารีย์วรรณ ทัตตะศิริ, 2543) หรือรุ่งทิวา
               หนักเพ็ชร พบว่า ปัจจัยที่น าไปสู่การเคลื่อนไหวของขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองของกลุ่มอนุรักษ์

               สิ่งแวดล้อมในจังหวัดน่าน คือ ประชาชนไม่ได้มีส่วนร่วมในโครงการทั้งที่อาจได้รับผลกระทบ โดยการการ
               เคลื่อนไหวจะด าเนินการผ่านการประชุม การรวมตัว ตลอดจนการยื่นหนังสือเรียกร้องต่อรัฐ (รุ่งทิวา หนักเพ็ชร,
               2556)

                              ทั้งนี้ มีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นกรณีตัวอย่างที่ดีต่อการจัดการปัญหาการมีส่วนร่วมในประเด็น
               พลังงาน ได้แก่ งานวิจัยของ ฐนกร ศิลป์สาคร พบว่า การแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน

               รอบโรงไฟฟ้าบางปะกง ได้แก่ การจัดการสิ่งแวดล้อมและการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วม
               ท าให้ได้ร่างรูปแบบการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมของประชาชน โดยได้รับการประเมินจาก
               ผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เกี่ยวข้องที่เข้าร่วมสนทนากลุ่ม กระบวนการดังกล่าวมีความถูกต้อง เหมาะสม และสามารถ
               น ารูปแบบการจัดการเพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมแบบมีส่วนร่วมรอบโรงไฟฟ้าไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิผลใน
               สถานการณ์จริง (ฐนกร ศิลป์สาคร, 2563)


                              ล าดับที่เจ็ด ประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และประเด็น
               ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (Natural Disasters)

                              ส าหรับประเด็นการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและประเด็นภัยพิบัติ ผู้วิจัยพบเอกสาร
               งานวิจัยอย่างละหนึ่งชิ้น โดยการศึกษาเรื่องการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) เป็นเรื่อง
               เกี่ยวกับการขับเคลื่อนการเมืองสิ่งแวดล้อมกับการบริหารจัดการภายใต้นโยบายการเปลี่ยนสภาพภูมิอากาศ

               ของโลกและประเทศต่าง ๆ ได้แก่ เรื่องนโยบายการบริหารเมืองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก
               ด้วยนโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานคร (สุมน ฤทธิกัน, 2562) ศึกษาเกี่ยวกับความส าเร็จ
               เชิงคุณภาพของการน านโยบายด้านสิ่งแวดล้อมของกรุงเทพมหานครไปปฏิบัติ พบว่า กรุงเทพมหานครประสบ
               ความส าเร็จในการน านโยบายด้านสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติในส่วนของการเพิ่มพื้นที่สีเขียว นโยบายการสร้างระบบ

               การระบายน้ าและป้องกันน้ าท่วม และนโยบายด้านการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานของกรุงเทพมหานคร

                              อย่างไรก็ดี กรุงเทพมหานครประสบปัญหาในการน านโยบายด้านสิ่งแวดล้อมไปปฏิบัติในส่วน
               ของนโยบายของการลดจ านวนขยะและการก าจัดขยะ การแปรรูปขยะเป็นพลังงานทดแทน และการส่งเสริม




                                                           125
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143