Page 112 - kpiebook65022
P. 112

หรืองานวิจัยที่พิจารณาสิ่งแวดล้อมเป็นต้นทุนเศรษฐกิจ ส าหรับประเทศไทยมีงานวิชาการไม่
               มากนักที่กล่าวถึงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ทุนทางเศรษฐกิจ เช่น การท าลายป่าชายเลน

               ท าให้เกิดผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชาวประมงและการท่องเที่ยวเมื่อค านวณออกมาเป็นตัวเงินแล้วมันจะอยู่ที่
               เท่าไหร่ เป็นต้น ดังนั้น ควรมีพูดเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในแง่เศรษฐศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้น
               ท าให้คนมองทรัพยากรธรรมชาติในฐานะเป็นปัจจัยตั้งต้นของระบบเศรษฐกิจโดยรวม ไม่ใช่ท าลายสิ่งแวดล้อม
               เพื่อประโยชน์เพียงกลุ่มเดียวไม่ได้ เพราะมันหมายถึงก าลังลดทอนศักยภาพทางเศรษฐกิจของคนกลุ่มอื่น

               ข้อเสนองานวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมหลังจากนี้ ควรจะยกระดับไปในทางมิติเศรษฐศาสตร์ที่จะเป็นประโยชน์
               ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ เพราะการท าลายสิ่งแวดล้อมจะได้รับความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น (ภาคใต้ [สนทนา
               กลุ่ม], 29 มิถุนายน 2564) หรือกรณีการประกอบกิจการปูนของบริษัทต่าง ๆ ที่มีการท าลายผืนป่าได้สัมปทาน
               ผืนป่าครั้งละ 2,000-3,000 ไร่ ได้มีการท าลายระบบนิเวศอย่างไร ตั้งแต่ต้นทางจนไปถึงปลายทาง เป็นต้น การ

               คิดมูลค่าตลอดห่วงโซ่อุปทานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ท าลายสิ่งแวดล้อมจะช่วยท าให้สะท้อนต้นทุนของ
               สิ่งแวดล้อมและต้นทุนของระบบนิเวศได้มากขึ้น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [สนทนากลุ่ม], 19 กรกฏาคม
               2564)

                              ประเด็นระบบนิเวศ เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาระบบนิเวศเมือง ดังผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวว่า การ

               วิจัยระบบนิเวศประเทศไทยมีองค์ความรู้ดีมากในบางระบบ แต่ในบางระบบยังมีความรู้จ ากัด เช่น พื้นที่ชุ่มน้ า
               ที่อยู่ในเขตเมือง ซึ่งบริเวณรอบกรุงเทพฯ หรือเมืองใหญ่ในอดีตมีมาก แต่ปัจจุบันพื้นที่เหล่านั้นลดน้อยลงไป
               น่าสนใจว่าพื้นที่เหล่านั้นยังมีความส าคัญอยู่หรือไม่ และจะฟื้นฟูขึ้นมาได้อย่างไร ซึ่งเราไม่ค่อยมีองค์ความรู้ใน
               เชิงพื้นที่ที่เป็นพื้นที่ที่ใกล้กับเมืองเรา (ผู้ทรงคุณวุฒิ 10 [สัมภาษณ์], 3 เมษายน 2564)

                              ประเด็นการเกษตร ได้แก่  การปลูกข้าวในแบบที่ให้ผลผลิตสู่และลดภาวะโลกร้อน เช่น การ

               วิจัยเพื่อปลูกข้าวด้วยการสลับระบบระหว่างระบบเปียกและระบบแห้งที่จะมีอัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
               น้อยลง (ผู้ทรงคุณวุฒิ 12 [สัมภาษณ์], 5 พฤษภาคม 2564) หรือการวิจัยเพื่อการปลูกพืชเลียนแบบธรรมชาติ
               ดังผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวว่า การเกษตรแบบผสมผสานหรือการปลูกพืชเลียนแบบธรรมชาติเป็นภูมิปัญญาที่อาจดู
               ไม่ทันสมัย จึงไม่ได้เป็นกระแสหลักของการพัฒนาทางการเกษตร แต่เกษตรกระแสหลักแบบการเกษตร
               เชิงเดี่ยวอย่างเช่นการปลูกข้าวโพดและอ้อยนั้น มีคนประสบความส าเร็จไม่มาก ซึ่งเกษตรกรไทยที่ท าเกษตร

               เชิงเดี่ยวประมาณร้อยละ 80 ถึง 90 ยังยากจนอยู่ บางส่วนจนลงและที่ดินหายไปเรื่อย ๆ แต่เกษตรกรที่ปลูก
               แบบผสมผสานกลับอยู่ได้ จึงเป็นรูปแบบที่ควรมีการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อม ว่าจะจัดการอย่างไรให้ตอบโจทย์
               เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนหรือ SDGs (ผู้ทรงคุณวุฒิ 17 [สัมภาษณ์], 8 เมษายน 2564)

                              ประเด็นการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ เป็นข้อเสนอเชิงประเด็นที่ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มใน

               ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เสนอให้มีการระบุไว้เพื่อเป็นประเด็นศึกษาต่อในอนาคต เพื่อให้ความความส าคัญ
               โดยกล่าวว่า อยากให้มีการศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศหรือ Climate change
               ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ควรมีการกล่าวถึงเพื่อให้มีคนสนใจและท าการศึกษาต่อเป็นช่วงที่สอง
               หรือสามต่อไป เพราะภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นมีความรุนแรงมากขึ้น (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [สนทนากลุ่ม], 19

               กรกฎาคม 2564)

                              ประเด็นยุติธรรมสิ่งแวดล้อม ผู้ให้สัมภาษณ์เสนอให้มีการศึกษาวิจัยทั้งในเชิงกฎหมาย กลไก
               และการขับเคลื่อน ยกตัวอย่างเช่น การวิจัยเพื่อผลักดันให้มีกฎหมายว่าด้วยการฟื้นฟูเยียวยาด้านสิ่งแวดล้อม
               ที่อาจต้องมีความชัดเจนในแต่ละกรณี เช่น กรณีมาบตาพุดที่มีผู้ได้รับผลกระทบจ านวนมากจึงอาจมีชุดความรู้
               ทางวิชาการอีกหนึ่งชุด วิธีพิจารณาเป็นพิเศษ กระบวนการรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงของทุกฝ่าย เป็นต้น



                                                            99
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117