Page 71 - kpiebook65015
P. 71

70   ประเด็นส�ำคัญที่พึงมีและควรแก้ไขตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช 2560 :
          การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร


               โดยสรุป มาตรา 128 (4) และ (6) คือกรณีที่จ�านวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
        รวมกันแล้วไม่ถึง 150 คน ส่วนมาตรา 128 (7) คือกรณีที่จ�านวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ

        รวมแล้วเกิน 150 คน พ.ร.ป. เลือกตั้ง มาตรา 128 (6) และ (7) ที่เขียนเพิ่มเติม
        ขึ้นมาจากรัฐธรรมนูญมาตรา 91 ก็เพื่อส�าหรับการด�าเนินการต่อไป ซึ่งก็มีแค่ 2 กรณี

        คือค�านวณแล้ว ไม่ถึง 150 คน กับค�านวณแล้ว เกิน 150 คนเท่านั้น


               อย่างไรก็ตามเมื่อได้มีการเลือกตั้งในวันที่ 24 มีนาคม 2562 แล้ว กกต.ได้
        แถลงต่อสาธารณะว่า มีวิธีค�านวณ ส.ส.บัญชีรายชื่อได้มากกว่าหนึ่งวิธี จึงได้ถามยัง
        กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ หรือ กรธ. ซึ่งเป็นทั้งผู้ร่างรัฐธรรมนูญ และ พรป. เลือกตั้ง

        ซึ่ง กรธ. ได้ให้ความเห็นตอบกลับมาว่า ต้องใช้ (5) ของมาตรา 128 ก่อน เพราะมาตรา

        128 (4) ที่ก�าหนดให้จัดสรรแก่พรรคการเมืองตามจ�านวนเต็มก่อน ขึ้นต้นว่า “ภายใต้
        บังคับ (5)” ซึ่งมาตรา 128 (5) บัญญัติว่า “ให้น�าจ�านวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อทั้งหมด
        ไปจัดสรรให้แก่พรรคการเมืองที่มีจ�านวน ส.ส. แบบแบ่งเขตเลือกตั้งต�่ากว่าจ�านวน

        ส.ส. ที่พรรคนั้นจะพึงมีได้ตาม (2) ตามอัตราส่วน” จึงต้องใช้ (5) ก่อน นั่นคือต้อง

        น�าจ�านวน ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ “เบื้องต้น” มาปรับลดลง “ตามอัตราส่วน”
        ตามมาตรา 128 (5) ก่อน แล้วจึงค่อยจัดให้ “ตามจ�านวนเต็ม” ตามมาตรา 128 (4)
        ดังนั้น จึงท�าให้เกิดสูตรในการค�านวณ ส.ส. บัญชีรายชื่อเป็นสูตรใหม่คือ สูตร กกต.

        ซึ่งเมื่อน�าคะแนนของการเลือกตั้ง 24 มีนาคม 2562 มาค�านวณแล้วจะได้จ�านวน

        ส.ส.บัญชีรายชื่อที่แตกต่างกันดังนี้

               (1) กำรค�ำนวณจ�ำนวน ส.ส.บัญชีรำยชื่อโดยใช้สูตรค�ำนวณที่เข้ำใจกัน

        ก่อนเลือกตั้ง: ตาม พรป.เลือกตั้ง มาตรา 128 (4) ต้องจัดสรร ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
        ให้พรรคการเมืองตามจ�านวนเต็มก่อน หากจัดสรรแล้ว เหลือ คือไม่ครบ 150 คน
        จึงค่อยด�าเนินการตามมาตรา 128 (4) ตอนท้าย และมาตรา 128 (6) คือจัดสรร
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76