Page 85 - kpiebook63019
P. 85
80
ตาราง 3.3 รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านการตรวจสอบฝ่ายบริหาร (รหัส O)
รหัส องค์ประกอบย่อย รหัส คำถาม
O ระบบการได้มาข้อมูลและ
O (ข้อ 1) สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีกระบวนการตั้งกระทู้ถาม
1 11
การตรวจสอบการทำงานของ
และการได้มาซึ่งข้อมูลจากฝ่ายบริหาร อย่างเป็นระบบและมี
ฝ่ายบริหาร ความเป็นไปได้
O (ข้อ 2) ประสิทธิภาพในการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายบริหาร
12
โดยกรรมาธิการสามัญและวิสามัญของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
O (ข้อ 13) บุคลากรและหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
13
สามารถเข้ามาชี้แจงให้ข้อมูลกับ สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่มีการแทรกแซงจากฝ่ายใดนั้น มีความ
เพียงพอ
O (ข้อ 14) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ให้เกียรติและปฏิบัติ
14
อย่างเหมาะสมกับบุคลากรและผู้แทนหน่วยงานต่าง ๆ ที่เข้ามา
ชี้แจงในระดับที่เหมาะสม
O (ข้อ 15) ระบบการให้บุคลากรและหน่วยงานเข้าไปชี้แจง
15
มีความเหมาะสม
O (ข้อ 16) ระบบตรวจสอบการทำหน้าที่ของประธานสภา
16
นิติบัญญัติแห่งชาติ ทั้งในระหว่างการทำงาน และระหว่าง
การประชุมมีความเหมาะสม
O ระบบและขั้นตอนการพิจารณา O (ข้อ 3) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สามารถเข้าไปโน้มน้าวหรือ
2 21
และตรวจสอบงบประมาณ
ตรวจสอบการจัดทำงบประมาณแผ่นดินในทุกขั้นตอนได้ดี
ประจำปี
O (ข้อ 17) กระบวนการพิจารณา การตรวจสอบ และการจัดสรร
22
งบประมาณของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีความโปร่งใส
O กระบวนการในการกลั่นกรองและ O (ข้อ 4) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรอง และตรวจสอบ
3 31
ตรวจสอบการทำหน้าที่ของฝ่าย การแต่งตั้งและความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่าย
บริหารและองค์กรอิสระ บริหารและข้าราชการระดับสูงบางตำแหน่งได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
O (ข้อ 5) สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้กลั่นกรอง และตรวจสอบ
32
การแต่งตั้งและความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กร
อิสระตามรัฐธรรมนูญอย่างมีประสิทธิภาพ
O ความเป็นอิสระและเอกเทศ
O (ข้อ 6) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีความเป็นอิสระในการ
4 41
ในการทำงานของรัฐสภาจาก
ดำเนินงาน เช่น การกำหนดและการควบคุมงบประมาณของ
ฝ่ายบริหาร ตนเอง การกำหนดวาระการประชุม การแต่งตั้งบุคลากร
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)