Page 84 - kpiebook63019
P. 84

79






               ตาราง 3.2  รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านการทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ  (รหัส L)


                  รหัส        องค์ประกอบย่อย        รหัส                       คำถาม

                   L    กรอบแนวคิดและกระบวนการ      L     (ข้อ 1)  การอภิปรายร่างกฎหมายในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
                    1                                11
                        พิจารณาร่างกฎหมายในรัฐสภา         สามารถทำได้อย่างกว้างขวางทั่วถึง
                        และคณะกรรมาธิการ
                                                    L     (ข้อ 2)  การพิจารณาร่างกฎหมายและการแปรญัตติของ
                                                     12
                                                          คณะกรรมาธิการสามารถกระทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                                    L     (ข้อ 9)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรองกฎหมายโดยให้
                                                     13
                                                          ความสำคัญกับประเด็นความเท่าเทียมกันทางเพศ

                                                    L     (ข้อ 10)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้กลั่นกรองกฎหมายโดยยึด
                                                     14
                                                          ความต้องการของประชาชนเป็นหลัก
                                                    L     (ข้อ 11)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีกระบวนการที่เอื้อต่อการให้
                                                     15
                                                          ร่างกฎหมายที่เสนอโดยประชาชนเข้าสู่การพิจารณาของ
                                                          สภานิติบัญญัติแห่งชาติได้อย่างรวดเร็ว

                   L    การมีส่วนร่วมของประชาชนและ  L     (ข้อ 4)  กระบวนการนิติบัญญัติมีความโปร่งใส และเปิดโอกาส
                    2                                21
                        ผู้มีส่วนได้เสีย                  ให้ผู้มีส่วนได้เสียเข้ามามีส่วนร่วมได้
                                                    L     (ข้อ 5) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ตามจำนวนขั้นต่ำ
                                                     22
                                                          ที่รัฐธรรมนูญกำหนด สามารถเข้าชื่อเสนอกฎหมายเข้าสู่สภาได้
                   L    คุณลักษณะของกฎหมายที่ผ่าน   L     (ข้อ 6)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สามารถตรากฎหมายที่กระชับ
                    3                                31
                        การพิจารณาของรัฐสภา               ชัดเจน และเป็นที่เข้าใจได้

                                                    L     (ข้อ 7)  กฎหมายที่ผ่านการกลั่นกรองจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
                                                     32
                                                          เกิดประโยชน์กับประชาชนโดยรวมอย่างทั่วถึง
                                                    L     (ข้อ 8)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำให้มั่นใจว่า ได้ตรากฎหมายได้
                                                     33
                                                          สอดคล้องกับบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญและหลักสิทธิมนุษยชน

                   L    ขีดความสามารถของกรรมาธิการ  L     (ข้อ 3) คณะกรรมาธิการมีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติ
                    4                                41
                        ในการทำหน้าที่ด้านนิติบัญญัติ     หน้าที่ของตน
                   L    กรอบระยะเวลาและงบประมาณ     L     (ข้อ 12)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใช้เวลาออกกฎหมายแต่ละฉบับ
                    5                                51
                        ในการตรากฎหมาย                    อย่างเหมาะสม

                                                    L     (ข้อ 13)  สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ใช้งบประมาณในการออก
                                                     52
                                                          กฎหมายแต่ละฉบับได้อย่างเหมาะสม





















            การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89