Page 87 - kpiebook63019
P. 87
82
ตาราง 3.4 รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านความโปร่งใสและการเข้าถึงได้ของรัฐสภา (รหัส T)
รหัส องค์ประกอบย่อย รหัส คำถาม
T การเปิดเผยข้อมูลผลการประชุม T (ข้อ 1) สื่อและสังคมสามารถรับทราบผลการประชุมของสภา
1 11
ของรัฐสภาและคณะกรรมาธิการ นิติบัญญัติแห่งชาติและคณะกรรมาธิการ
ต่อสื่อและสาธารณะ
T การมีเสรีภาพของสื่อในการเข้าถึง T (ข้อ 2) ผู้สื่อข่าวมีความเป็นอิสระในการนำเสนอข่าวเกี่ยวกับ
2 21
และนำเสนอข่าวเกี่ยวกับ
การดำเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสมาชิกสภา
การดำเนินงานของรัฐสภาและ นิติบัญญัติแห่งชาติ
สมาชิกรัฐสภา
T การมีช่องทาง ความถี่ และ
T (ข้อ 3) สภานิติบัญญัติแห่งชาติให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน
3 31
การครอบคลุมของการเผยแพร่ ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ผ่านสื่อช่องทางต่าง ๆ อย่างมี
ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน
ประสิทธิผล
ของรัฐสภาและกรรมาธิการ
T (ข้อ 4) ความเหมาะสมของจำนวนช่องทางที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
32
การดำเนินงานของสภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อสาธารณะ
T (ข้อ 13) สื่อวิทยุและโทรทัศน์ของรัฐสภา มีเครือข่ายที่ครอบคลุม
33
T (ข้อ 14) ระดับความถี่ของการถ่ายทอดการประชุมสภา
34
นิติบัญญัติแห่งชาติ ในประเด็นที่มีผลกระทบกับประชาชน
ส่วนใหญ่
T (ข้อ 15) ระดับความถี่ของการถ่ายทอดการประชุมกรรมาธิการ
35
ในประเด็นที่มีผลกระทบกับประชาชนส่วนใหญ่
T (ข้อ 17 ) ข้อมูลต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเอกสาร สื่ออินเตอร์เน็ต CD
36
ฯลฯ ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จัดทำให้ประชาชนตามข้อ 16
มีความแพร่หลาย
T รูปแบบ วิธีการ และภาษาที่ใช้ใน T (ข้อ 5) ความเหมาะสมของการให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดำเนินงาน
4 41
การเผยแพร่ข้อมูลของรัฐสภาและ ของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติต่อสาธารณะ
กรรมาธิการ
T (ข้อ 16) ข้อมูลต่าง ๆ ทั้งที่เป็นเอกสาร สื่ออินเตอร์เน็ต CD ฯลฯ
42
ที่สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จัดทำให้ประชาชน ได้มีการใช้ภาษา
และวิธีการสื่อสารที่กลุ่มต่าง ๆ สามารถเข้าใจได้ง่าย
T โอกาสและความสะดวกของ T (ข้อ 7) ประชาชนทั่วไปในเขตตัวเมือง สามารถเสนอความคิดเห็น
5 51
ประชาชนในการเสนอความคิด และปัญหาโดยตรงกับสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
เห็น ปัญหา ร้องทุกข์กับผู้แทน
และกรรมาธิการโดยตรง T 52 (ข้อ 8) ประชาชนทั่วไปในเขตชนบท สามารถเสนอความคิดเห็น
และปัญหาโดยตรงกับสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้
T (ข้อ 9) ประชาชนสามารถร้องทุกข์กับคณะกรรมาธิการของสภา
53
นิติบัญญัติแห่งชาติ ได้สะดวก
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)