Page 89 - kpiebook63019
P. 89
84
ตาราง 3.5 รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านความสำนึกรับผิดชอบของรัฐสภา (รหัส A)
รหัส องค์ประกอบย่อย รหัส คำถาม
ความสำนึกความรับผิดชอบของ A11 (ข้อ 2) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อ
1
สมาชิกรัฐสภาต่อประชาชน
ประชาชนทั้งประเทศ
ทั่วประเทศ
ระบบการรายงาน ตรวจสอบ A (ข้อ 1) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีการจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อ
2 21
และลงโทษสมาชิกรัฐสภา
ให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ รายงานการทำหน้าที่ในสภา
กรณีมีพฤติกรรมผิดจริยธรรม
นิติบัญญัติแห่งชาติต่อประชาชน
หรือเข้าข่ายผลประโยชน์ทับซ้อน
A (ข้อ 3) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีการตรวจสอบ และลงโทษเมื่อ
22
สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับว่าด้วย
ประมวลจริยธรรม
A (ข้อ 4) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีกระบวนการที่แสดงถึง
23
ความมุ่งมั่นและกระทำการอย่างโปร่งใส ในการป้องกันมิให้
สมาชิกกระทำการที่มีผลประโยชน์ทับซ้อน
การสร้างความเชื่อมั่นศรัทธาของ A (ข้อ 5) อัตราเงินเดือน ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์รวมจาก
3 31
ประชาชนที่มีต่อรัฐสภา การปฏิบัติงานของสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นที่ยอมรับ
ของสาธารณชน
A (ข้อ 6) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ จัดให้มีการสำรวจความเชื่อมั่น
32
ของประชาชนต่อรัฐสภาอย่างเป็นระบบ
A (ข้อ 7) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีข้อมูลพื้นฐาน เพื่อแสดงถึง
33
การทำงานอย่างมีประสิทธิภาพและรับผิดชอบ เช่น สถิติ
การเข้าประชุม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สถิติการเข้าประชุม
กรรมาธิการ สถิติการอภิปรายอย่างมีสาระน่าเชื่อถือของสมาชิก
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ แต่ละท่าน สถิติการประชุมและวาระ
การประชุมของ สภานิติบัญญัติแห่งชาติและกรรมาธิการ เป็นต้น
การพัฒนาการเรียนรู้และ
A (ข้อ 8) กระบวนการพัฒนาสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ หรือ
4 41
เสริมสร้างขีดความสามารถของ การพัฒนาเพื่อเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สร้างความรับผิดชอบ
สมาชิกรัฐสภา ในการปฏิบัติหน้าที่ เช่น การจัดสัมมนา อบรม ดูงาน เป็นต้น
มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)