Page 90 - kpiebook63019
P. 90
85
ตาราง 3.6 รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านการมีส่วนร่วมในนโยบายระหว่างประเทศ (รหัส I)
รหัส องค์ประกอบย่อย รหัส คำถาม
I การได้มาข้อมูลและการมีส่วนร่วม I (ข้อ 1) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สามารถพิจารณาและมีส่วน
1 11
ในนโยบายระหว่างประเทศระดับ สนับสนุนนโยบายต่างประเทศของรัฐบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
ทวิภาคีและพหุภาคี
I (ข้อ 2) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้รับและเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
12
เกี่ยวกับสถานะและท่าทีการเจรจาของรัฐบาลกับองค์กรระดับ
ภูมิภาคและระดับระหว่างประเทศอย่างเพียงพอและทันเวลา
I การมีส่วนร่วมในการสร้างพันธะ I (ข้อ 3) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีส่วนร่วมในการสร้างพันธะทาง
2 21
ด้านกฎหมายและการเงินในเวที กฎหมายหรือทางการเงินในเวทีระหว่างประเทศ อาทิ องค์การ
ระหว่างประเทศ สหประชาชาติ
I บทบาทของรัฐสภาในการติดตาม I (ข้อ 4) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิผล
3 31
และตรวจสอบนโยบายและ
ในการประกันว่าประเทศไทย ได้ปฏิบัติตามพันธกรณีระหว่าง
การปฏิบัติตามพันธะหรือ
ประเทศ เช่น องค์การการค้าโลก องค์การสหประชาชาติ เป็นต้น
ข้อตกลงด้านความช่วยเหลือ
ประเทศ I 32 (ข้อ 5) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่อย่างมีประสิทธิผล
ในการพิจารณาและมีส่วนสนับสนุนการจัดทำรายงานของ
ประเทศตามเงื่อนไขการตรวจสอบระหว่างประเทศ ตลอดจน
ติดตามให้เกิดการปฏิบัติตามข้อเสนอแนะดังกล่าว
I (ข้อ 6) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ติดตามและตรวจสอบนโยบาย
33
ด้านการพัฒนาทั้งในฐานะ “ประเทศผู้ให้” และ “ประเทศผู้รับ”
ความช่วยเหลือระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิผล
I บทบาทของรัฐสภาในการส่งเสริม I (ข้อ 7) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้ทำหน้าที่ตรวจสอบการส่ง
4 41
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง กองกำลังทหารไปยังต่างประเทศอย่างเข้มงวด
ภายในประเทศและต่างประเทศ
I (ข้อ 8) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทำหน้าที่ส่งเสริมการเจรจาเพื่อ
42
ระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
อย่างรวดเร็ว
I5 การสร้างความร่วมมือระหว่าง I (ข้อ 9) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ มีความร่วมมือกับรัฐสภา
รัฐสภาไทยกับรัฐสภานานาชาติ 51 นานาชาติในระดับภูมิภาคและระดับโลกอย่างมีประสิทธิภาพ
I (ข้อ 11) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้มีการทำหน้าที่เชิงการทูต
52
ของรัฐสภา เช่น การปฏิบัติตามธรรมเนียมปฏิบัติ กฎ ระเบียบ
ขององค์การรัฐสภาต่างประเทศ การประชุมรัฐสภาระหว่าง
ประเทศ ความร่วมมือด้านประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชน กฎหมาย
ตลอดจนการทำงานในเชิงระหว่างประเทศที่สอดรับกับฝ่าย
บริหาร
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)