Page 83 - kpiebook63019
P. 83
78
ตาราง 3.1 รหัสองค์ประกอบย่อยและรหัสคำถามด้านการเป็นตัวแทนของประชาชน (รหัส R)
รหัส องค์ประกอบย่อย รหัส คำถาม
R ความหลากหลายของสมาชิก R (ข้อ 1) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ประกอบด้วย ผู้แทนที่มีความ
1 11
รัฐสภา หลากหลายด้านความคิดทางการเมือง
R (ข้อ 2) ความเหมาะสมของสัดส่วนของผู้หญิงในจำนวนสมาชิก
12
สภานิติบัญญัติแห่งชาติทั้งหมด
R (ข้อ 3) ความเหมาะสมของสัดส่วนผู้แทนจากกลุ่มคนส่วนน้อย/
13
ผู้ด้อยโอกาสในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
R (ข้อ 4) ความเหมาะสมของสัดส่วนผู้แทนของภูมิภาค
14
ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
R ระบบและกลไกการบริหาร
R (ข้อ 5) สภานิติบัญญัติแห่งชาติมีการบริหารจัดการที่มั่นใจได้ว่า
2 21
จัดการของรัฐสภาเพื่อสร้าง
จะทำให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติทำหน้าที่อย่างมี
ความเสมอภาค
ประสิทธิผล
ความเท่าเทียมกันในการทำ
หน้าที่ของสมาชิกรัฐสภา R 22 (ข้อ 6) สิ่งอำนวยความสะดวกและวิธีปฏิบัติของสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ เอื้อให้สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ชายหญิงทำงาน
ร่วมกัน
R (ข้อ 7) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทุกคนมีสิทธิแสดง
23
ความคิดเห็นได้อย่างเสรี
R (ข้อ 8) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ได้รับการปกป้องจาก
24
การแทรกแซงของฝ่ายบริหาร ในการแสดงความคิดเห็น
R (ข้อ 9) องค์กรอื่น ๆ เช่น ฝ่ายบริหารและฝ่ายตุลาการ ไม่มี
25
การแทรกแซงในการดำเนินงานของสมาชิกสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ ทั้งทางตรงและทางอ้อม
R (ข้อ 10) สภานิติบัญญัติแห่งชาติ เป็นเวทีการอภิปรายประเด็น
26
ความห่วงกังวลของประชาชนได้อย่างมีประสิทธิผล
R3 ความโปร่งใสในการได้มาของ R (ข้อ 11) กระบวนการแต่งตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
สมาชิกรัฐสภา 31 มีความโปร่งใส
การประเมินผลการดำเนินงานของรัฐสภาไทย (สภานิติบัญญัติแห่งชาติ) โดยใช้เกณฑ์และตัวชี้วัดของ Inter-Parliamentary Union (IPU)