Page 140 - kpiebook63001
P. 140
122
ตารางที่ 4.7 แสดงตัวอย่างรายรับและมูลค่าค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งของผู้สมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
จ.ร้อยเอ็ด
รายรับจาก รายรับจาก มูลค่า
เขต คะแนนเสียง
ชื่อ-สกุลผู้สมัคร พรรคการเมือง พรรคการเมือง เงินส่วนตัว ค่าใช้จ่าย
เลือกตั้ง ที่ได้รับ
จัดสรรให้ ของผู้สมัคร ทั้งหมด
นายอนุรักษ์ จุรีมาศ ชาติไทยพัฒนา 1 - 1200000 1139159 44899
นายวราวงฺษ์ พันธุ์ศิลา เพื่อไทย 1 100000 1000000 843076 24000
นายธนกฤต ชาติอนุลักษณ์ รวมพลังประชาชาติไทย 1 510000 - 448602 151
นายบรรจง สาวิสิทธิ์ พลังท้องถิ่นไท 1 88000 110000 177750 218
นายอุบล แก้วประสาน ประชาชาติ 1 50000 150000 184645 223
นายวีระวัฒน์ โพธิ์เปียศรี เพื่อชาติ 2
100000 100000 174325 967
นายทินกร อ่อนประทุม ประชาธิปัตย์ 2
230000 470000 686520 7079
นายจำรัส สรสาร อนาคตใหม่ 2
350000 120000 463566.60 12220
นายพรหมพันธ์ พลมั่น สยามพัฒนา 3 150000 50000 192088 649
นายเอกภาพ พลซื่อ พลังประชารัฐ 3 800000 200000 837430 32715
นายประสิทธิ์ เทพโอภาส ชาติพัฒนา 3 147600 50000 195978.59 583
นายภาณุวิชญ์ มหัทธนสมมิตร พลังไทยรักไทย 4 10000 11800 21800 418
นางสิรินทรา ละอองเอก ไทยศรีวิไลย์ 4 10000 10000 19700 193
นางศศิธร พรหมชัยนันท์ ภูมิใจไทย 4 375000 635000 1032435 5971
ด.ต.สัมพันธ์ บุตรพรม เสรีรวมไทย 5 - 350000 345980 1708
นายธนเดช รัตนภักดี พลังสังคม 6 15000 5000 16040 6
นายถวิล ชิณภักดิ์ พลังธรรมใหม่ 7 - 110000 105800 169
ที่มา : ประกาศสำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดร้อยเอ็ด เรื่อง ผลการตรวจสอบรายการค่าใช้จ่ายในการเลือกตั้งของ
ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ https://www.ect.go.th/roiet/ more_news.php?cid=32
ด้านการจ่ายเงินในช่วงเวลาของการเลือกตั้งนั้น แม้ผู้สมัครจะมีความเห็นว่าระดับของการแข่งขัน
โดยการใช้เงินในการเลือกตั้งที่จังหวัดร้อยเอ็ดได้ลดลงไปอย่างมากแต่ถือได้ว่ายังไม่หมดไป ซึ่งการจ่ายเงิน
เพื่อมุ่งหวังผลคะแนนเลือกตั้ง แบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ กล่าวคือ การให้ค่าตอบแทนแก่หัวคะแนน
ในการช่วยสนับสนุนการดำเนินกิจกรรมหาเสียงของผู้สมัครดังตารางที่ 4.8 ซึ่งอาจเป็นได้ทั้งผู้นำชุมชน
หรือกลุ่มคนที่ผู้สมัครจัดตั้งขึ้นมาในพื้นที่ดังที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และอีกรูปแบบหนึ่งคือการจ่ายเงินให้แก่
ประชาชนเพื่อจูงใจให้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้งให้แก่ผู้สมัคร ได้รับการกล่าวถึงทั้งการจ่ายเป็นค่าตอบแทน
ในการร่วมฟังปราศรัย การจ่ายเงินก่อนหน้าวันลงคะแนนเสียงเลือกตั้งโดยการกำหนดช่วงระยะเวลา
ดังแผนภาพที่ 4.11 และการซื้อเสียงแบบกีดกันฝ่ายตรงข้าม ซึ่งเป็นวิธีการที่ฝ่ายของตนเองจ่ายเงินซื้อเสียง
การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดร้อยเอ็ด