Page 104 - kpiebook63001
P. 104

86






                               แผนภาพที่ 4.4  แสดงการเปรียบเทียบอัตราการใช้สิทธิของประชาชน

                                           ในการเลือกตั้ง 2550   2554  และ 2562
                                                                    6
                                                             5


























                     เมื่อพิจารณาถึงอัตราการมาใช้สิทธิเลือกตั้งของประชาชนเปรียบเทียบ พ.ศ. 2550, 2554 และ 2562
               ดังแผนภาพที่ 4.4  พบว่า แม้การตื่นตัวของประชาชนจะถูกกระตุ้นด้วยบรรยากาศทางการเมืองดังที่กล่าวมา

               แต่การมาใช้สิทธิเลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2562 กลับมีอัตราที่ต่ำกว่าการเลือกตั้ง
               พ.ศ. 2550 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกหลังจากการรัฐประหาร พ.ศ. 2549 และการเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2554
               ซึ่งอยู่ภายใต้บรรยากาศของความขัดแย้งทางการเมือง  เช่นเดียวกับจำนวนบัตรเสียที่มากขึ้น ในขณะที่
                                                               7
               บัตรไม่ประสงค์ลงคะแนนมีอัตราที่ต่ำลงเมื่อเทียบกับการเลือกตั้งที่ผ่านมาทั้ง 2 ครั้ง




















               
      5   ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2550, ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
               พ.ศ. 2550, กรุงเทพฯ :บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำกัด.
               
      6   ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ใน สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2555, ข้อมูลสถิติการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
               พ.ศ. 2554, กรุงเทพฯ :บริษัท รุ่งศิลป์ การพิมพ์ (1977) จำกัด.

               
      7   ดูรายละเอียดได้ที่ สิริพรรณ นกสวน สวัสดี, 2554, รายงานวิจัย เรื่อง การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554
               ศึกษาบทบาทพรรคการเมือง และพฤติกรรมและการตัดสินใจเลือกตั้งของประชาชนในสถานการณ์ความขัดแย้งทางการเมือง,
               กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง.








                     การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดร้อยเอ็ด
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109