Page 192 - kpiebook62002
P. 192

อย่างไรก็ตาม ไทยได้พลิก “วิกฤต” ให้กลายเป็น “โอกาส” ในการเร่งพัฒนากลไกรับมือระดับชาติ

               โดยใช้ยุทธศาสตร์ 5Ps ประกอบด้วย Policy (นโยบาย) Prosecution (การด าเนินคดีและบังคับใช้กฎหมาย)
               Protection (การคุ้มครอง) Prevention (การป้องกัน) และ Partnership (ความร่วมมือ) เป็นกรอบในการ

               พัฒนากลไก ในเชิงนโยบายไทยมีคณะขับเคลื่อนการท างานในเชิงนโยบายระดับชาติทีเรียกว่า คณะกรรมการ

               ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (คณะกรรมการ ปคม.) และคณะกรรมการประสานและก ากับการ
               ด าเนินงานป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ (คณะกรรมการ ปกค.) มีหน่วยงานเฉพาะในหน่วยงานหลัก

               อย่างส านักงานต ารวจแห่งชาติ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในการด าเนินคดีและ

               บังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครอง และการป้องกัน อีกทั้งมีกฎหมายรองรับอย่างพระราชบัญญัติป้องกันและ
               ปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 แม้จะมีกลไกที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น แต่ก็ยังมีลักษณะเป็น “งานเฉพาะ

               กิจ” ตาม “วาระแห่งชาติ” ของรัฐบาลปัจจุบัน มากกว่าจะมีความยั่งยืน

                       น าไปสู่แนวคิดการจัดตั้ง “ส านักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์” (ป.ป.ม.)
               สังกัดส านักนายกรัฐมนตรี ซึ่งควรเริ่มต้นจากหน่วยงานขนาดเล็กที่เป็นเจ้าภาพในแง่วิชาการ เพื่อให้เป็น

               หน่วยงานที่มีความรู้ในการจัดการเฉพาะดูแลในภาพรวมเน้นการสร้างบุคลาการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ตาม

               กรอบแนวคิดและแนวปฏิบัติส าหรับผู้ปฏิบัติงาน (Practitioner Guidelines) ของอาเซียน โดยมุ่งสร้าง
               สมรรถนะของอาเซียนให้มีการประสานงานกับประเทศปลายทางมีฐานข้อมูลถาวรของอาเซียน

                       ส่วนความร่วมมือของอาเซียนซึ่งไทยเป็นส่วนหนึ่งมีกลไกการประชุมและเครื่องมือที่เพียบพร้อมอยู่

               แล้วทั้งที่ประชุมรัฐมนตรีอาเซียนด้านอาชญากรรมข้ามชาติ หรือกลไกหลักอย่างที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสว่า
               ด้วยอาชญากรรมข้ามชาติ อนุสัญญาอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็ก (ACTIP)

               ปี 2015 แผนปฏิบัติการอาเซียนว่าด้วยการต่อต้านการค้ามนุษย์ โดยเฉพาะสตรีและเด็กปี 2015 แนวปฏิบัติ

               ส าหรับผู้ปฏิบัติงานของอาเซียน และรายงานความก้าวหน้าในการด าเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเพื่อ
               ตอบโต้การค้ามนุษย์ปี 2018 ซึ่งน ามาใช้เป็นกรอบการท างานหลักในภูมิภาคได้ นอกจากนี้ยังมีกรอบความ

               ร่วมมือที่เกี่ยวข้องกับอาเซียนที่เรียกว่า “กระบวนการปรึกษาหารือระดับภูมิภาค” (RCP) ด าเนินงานควบคู่ไป

               กับการท างานเชิงสถาบันในกรอบอาเซียน ทั้งการประชุมระดับรัฐมนตรีของประเทศในอนุภูมิภาคแม่น้ าโขง
               เพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ (COMMIT) และกระบวนการบาหลี (Bali Process) ที่ไทยร่วมมือกับหลากหลาย

               ประเทศทั้งในระดับอนุภูมิภาคไปจนถึงทั้งภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก

                       ความร่วมมือทวิภาคีของไทยที่มีทั้งกับเพื่อนบ้านในภูมิภาคและกับประเทศนอกภูมิภาคอยู่ในลักษณะ
               ความร่วมมือระดับหน่วยงานเพื่อประสานการท างานร่วมกันในต่อต้านการค้ามนุษย์และข้อตกลงซึ่งโดยหลักจะ

               อยู่ในรูปแบบบันทึกความเข้าใจ ทว่าความร่วมมือนี้เน้นไปในด้าน Prosecution (การด าเนินคดีและบังคับใช้

               กฎหมาย) เช่น ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานยังคับใช้กฎหมายเพื่อสืบสวนสอบสวนด าเนินคดีกับผู้กระท า
               ความผิดฐานค้ามนุษย์ การจัดโครงการฝึกอบรมทางกฎหมายและทักษะในการสืบสวนสอบสวน และ

               Protection (การคุ้มครอง) ซึ่งมุ่งหารส่งเหยื่อกลับประเทศให้ปลอดภัยและลดความเสี่ยงจากการตกเป็นเหยื่อ

               การค้ามนุษย์ มากกว่าที่จะทุ่มเทให้กับ Prevention (การป้องกัน) เพื่อขจัดปัญหาที่ต้นทางไม่ให้เกิดการค้า




                                                          [176]
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197