Page 117 - b30427_Fulltext
P. 117
กฎหมายกีฬาของต่างประเทศและประเทศไทย: กฎหมายกีฬาของต่างประเทศและประเทศไทย:
ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายกีฬาอังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและไทย ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายกีฬาอังกฤษ ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกาและไทย
โอลิมปิกและพาราลิมปิกแห่งสหรัฐ ค.ศ. 2020 พูดได้ว่าก่อนปี 1978 รัฐบาลกลาง
อเมริกาไม่เคยบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการกีฬาโดยตรงออกมาก่อนเลย รายละเอียด
โดยสังเขปของกฎหมายกีฬาทุกฉบับระดับรัฐบาลกลางมีดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1 ประมวลกฎหมายว่าด้วยกีฬาโดยเฉพาะของรัฐบาลสหรัฐ
ลำดับ รหัส/สมัยประชุม ชื่อเรียกกฎหมาย ปี สาระสำคัญ/วัตถุประสงค์
1 S.2727 – Amateur Sports Act 1978 กฎหมายส่งเสริมกีฬาสมัครเล่นได้
95th Congress ก่อนที่ในปี 1998 จะได้ สถาปนา คณะกรรมการโอลิมปิก
ปรับปรุงเป็น Olympic สหรัฐอเมริกา (USOC) ที่มีสถานะ
and Amateur Sports เป็นองค์กรภาครัฐให้เข้ามามีหน้าที่
Act เพื่อขยายขอบข่าย คัดเลือก และพัฒนาสมรรถนะของ
รับผิดชอบในส่วนของ นักกีฬา ในนามทีมชาติที่เข้าร่วม
กีฬาพาราลิมปิกด้วย การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกแทน
สหภาพนักกีฬาสมัคร (The
Amateur Athletic Union: AAU)
ซึ่งเคยมีบทบาทมาอย่างยาวนาน
เนื่องจากปัญหาการเลือกปฏิบัติ
อนึ่ง ภายใต้คณะกรรมการโอลิมปิก
ก็ให้มีหน่วยงานซึ่งแยกออกตาม
ชนิดกีฬา เช่น USA Fencing,
USA Track & Field เป็นต้น
2 S.J.Res.53 – A joint resolution to 1983 ประกาศให้เดือนพฤษภาคม
98th authorize and request เป็นเดือนแห่งการออกกำลังกาย
Congress the President to และกีฬาของประเทศ เพื่อรณรงค์
designate the month of ให้ประชาชนใส่ใจเรื่องการมีสุขภาพ
May as “National ที่ดี
Physical Fitness and
Sports Month”
3 S.J.Res.418 – A joint resolution to 1986 กำหนดให้มีวันนักกีฬาหญิงแห่งชาติ
99th Congress designate one day of ขึ้น เป็นวันหนึ่ง ในสัปดาห์แรก
the first week of ของเดือนกุมภาพันธ์เพื่อส่งเสริม
February as “National ความเสมอภาคทางเพศในวงการ
Women in Sports Day” กีฬา
ปัจจุบันเป็น “National
Girls and Women in
Sports Day”
10
สถาบันพระปกเกล้า