Page 40 - b29420_Fulltext
P. 40

ชุมชนมีการเปิดรับวัฒนธรรมใหม่ๆเช่นมองว่าการรับเงินจากผู้สมัครแต่ไม่เลือกผู้นั้นไม่ถือว่าเป็นบาป

                       มองว่าการเลือกผู้สมัครคนใดเป็นสิทธิส่วนบุคคลที่ควรพิจารณาด้วยเหตุและผลทางนโยบายมากกว่า

                       เหตุผลในการเป็นญาติหรือคนรู้จักกัน เป็นต้น
                   5)  ผลประโยชน์ : ในที่นี้หมายถึงกลุ่มผลประโยชน์หรือเครือข่ายภายในชุมชนรูปแบบต่างๆทั้งที่เป็น

                       ทางการไม่เป็นทางการ แต่มีความสัมพันธ์และมีการแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกันในด้านต่างๆ
                       อาทิ ความรัก กำลังใจ การสนับสนุน ทรัพย์สินเงินทอง ยกตัวอย่างเช่น ครอบครัว เครือญาติ กลุ่ม

                       อาชีพ กลุ่มเพื่อน พรรคการเมือง ผู้มีอิทธิพล รวมไปถึงความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ซึ่งอาจมี

                       อิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกผู้สมัครหรือการสนับสนุนผู้สมัครฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดเพื่อผลประโยชน์ของตน

                       โดยเพื่อให้เกิดความชัดเจนเกี่ยวกับกรอบการศึกษา ผู้วิจัยได้จำแนกรายละเอียดตัวชี้วัดของนิยามตัว

               แปร ไว้ในตารางที่ 1


                       ตารางที่ 3 ตัวแปร นิยามของตัวแปร และตัวชี้วัด


                       ตัวแปร                  นิยามของตัวแปร                        ตัวชี้วัด
                 1.แกนนำ              คือ บทบาทของแกนนำ (ระดับโครงการ) ที่ 1.กระบวนการแสวงหาผู้เกี่ยวข้อง การสร้าง

                                      มีต่อการดำเนินโครงการเลือกตั้งสมานฉันท์ ความเข้าใจความสำคัญของโครงการต่อ
                                      และไม่ซื้อสิทธิขายเสียง ทั้งเรื่องของการ  ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
                                      ถ่ายทอดความรู้ กระบวนการสร้างความ  2.เนื้อหาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการ

                                      ตระหนัก กิจกรรมต่างๆที่แกนนำ     เลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขายเสียงที่
                                      ดำเนินการเพื่อปรับพฤติกรรมในการ  แกนนำเลือกนำเสนอ/ถ่ายทอด
                                      เลือกตั้งให้มีคุณภาพ             3.การแสวงหาและสร้างแกนนำในระดับพื้นที่

                                                                       4.การสร้างความตระหนักในความสำคัญของ
                                                                       โครงการฯตลอดจนศักยภาพในการสร้างความ
                                                                       เปลี่ยนแปลงทางการเมืองผ่านการเลือกตั้ง
                                                                       ให้แก่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งผ่านกิจกรรมต่างๆ

                                                                       5.การติดตาม รณรงค์ กระตุ้น และสร้างความ
                                                                       ต่อเนื่องในการดำเนินโครงการ
                 2.ความรู้            คือ ความรู้ความเข้าใจต่อโครงการเลือกตั้ง 1.ผู้สมัครและผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีความเข้าใจ

                                      สมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขายเสียง   โครงการเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขาย
                                      ความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกตั้งที่ดีกับ  เสียงอย่างไร
                                      คุณภาพชีวิตที่ดี บทบทของพลเมืองในช่วง 2.ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีความเข้าใจความสัมพันธ์
                                      ของการเลือกตั้ง                  ระหว่างการเลือกตั้งที่ดีกับคุณภาพชีวิตที่ดี

                                                                       หรือไม่
                                                                       3.ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าใจบทบาทการมีส่วนร่วม
                                                                       ของพลเมืองในช่วงการเลือกตั้งหรือไม่








                                                                                                       30
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45