Page 43 - b29420_Fulltext
P. 43
ตารางที่ 4 นิยามและตัวชี้วัดการไม่ซื้อสิทธิขายเสียง จำแนกตามระดับความเปลี่ยนแปลง
นิยามและตัวชี้วัดการไม่ซื้อสิทธิขายเสียง จำแนกตามระดับความเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายโครงการ ตัวชี้วัด เปลี่ยนแปลงมาก เปลี่ยนแปลงปานกลาง เปลี่ยนแปลงน้อย
1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ 1.1 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรู้ว่าการเลือกตั้งสมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิขายเสียงคืออะไร 1.ร้อยละ 50 ของกลุ่ม 1.ร้อยละ 30 ของกลุ่ม 1.กลุ่มตัวอย่างผู้มีสิทธิ
ความเข้าใจการเลือกตั้ง 1.2 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรู้บทบาทของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตัวอย่างผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ตัวอย่างผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เลือกตั้งในชุมชน น้อยกว่า
สมานฉันท์และไม่ซื้อสิทธิ 1.3 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเข้าใจความสัมพันธ์ของการเลือกตั้งกับชีวิตที่ดี ในชุมชน มีคะแนน ในชุมชน มีคะแนน ร้อยละ 30 มีคะแนน
ขายเสียงตลอดจนบทบาท ความรู้ผ่านเกณฑ์ ความรู้ผ่านเกณฑ์ ความรู้ผ่านเกณฑ์
ของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 2.กลุ่มตัวอย่างรับรู้ถึง 2.กลุ่มตัวอย่างรับรู้ถึง
2.ผู้เข้าร่วมโคงการตระหนัก 2.1 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรับรู้ว่าตนมีทางเลือก และสามารถสร้างทางเลือกในการเลือกตั้งได้ ไม่ การหาเสียงว่าโจมตีกัน การหาเสียงว่าโจมตีกัน
ถึงศักยภาพของตนเองใน จำเป็นต้องเลือกเฉพาะนโยบายที่ผู้สมัครเสนอเท่านั้น ลดลง มีความสมานฉันท์ ลดลง มีความสมานฉันท์
การสร้างความเปลี่ยนแปลง 2.2 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรู้สึกว่าไม่ถูกครอบงำโดยอิทธิพลทางการเมืองใดๆในการตัดสินใจเลือก ภายหลังการเลือกตั้ง ภายหลังการเลือกตั้ง
ผ่านการเลือกตั้งที่โปร่งใส ผู้แทน/ผู้บริหารท้องถิ่น 3.กลุ่มตัวอย่างรับรู้ถึง 3.กลุ่มตัวอย่างรับรู้ถึง
เป็นธรรม 2.3 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่ลงคะแนนแบบต่างตอบแทนและเห็นคุณค่าของการเลือกตั้งและ ระดับการซื้อเสียงที่ ระดับการซื้อเสียงที่
คะแนนเสียงของตน ลดลง ลดลง
3.เกิดการเปลี่ยนแปลง 3.1.1 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมมากขึ้นไม่เน้นประโยชน์ส่วนตัวเป็นหลัก 4.มีผู้สมัครหน้าใหม่
ทัศนคติและพฤติกรรม 3.1.2 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งยึดเหตุผลและนโยบายเป็นเหตุผลในการตัดสินใจเลือกผู้แทน/ เพิ่มขึ้น
3.1.เกิดการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารท้องถิ่น
ทัศนคติในการเลือกตั้ง 3.1.3 ผู้สมัครมีทัศนคติต่อการมอบสิ่งของเงินทองเปลี่ยนไป โดยมองว่าเป็นเรื่องของการดู
ผู้แทน/ผู้บริหารท้องถิ่น ถูกศักดิ์ศรีผู้มีสิทธิเลือกตั้งและให้ค่ากับการหาเสียงด้วยนโยบายนำนโยบายมาแข่งขันกัน
3.1.4 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรู้สึกว่าการมอบทรัพย์สินเงินทองเพื่อแลกเปลี่ยนกับคะแนนเสียง
เป็นการดูถูกความคิด ไม่ใช่สินน้ำใจ
3.2ผู้มีสิทธิเลือกตั้งมี 3.2.1 ผู้มีสิทธิเลือกตั้งกล้าพูดคุยการเมืองกับคนในชุมชนมากขึ้น การเมืองไม่ใช่เรื่องที่ต้อง
ความรู้สึกสนใจการเมือง ปกปิดว่าจะเลือกหรือไม่เลือกใครอีกต่อไป และกล้าตั้งคำถามกับผู้บริหารมากขึ้น
33