Page 66 - b28783_Fulltext
P. 66
เรื่องผลกระทบต่อผลผลผลิตข้าวไม่กระทบเพราะไม่ตรงฤดูกาล น้ าตาลไม่กระทบเพราะเป็น
ตลาด niche ผักราคาดีขึ้นเพราะผลผลิตออกน้อย ชาวสวนมะม่วงล าบากเพราะราคาตกเพราะไม่มีคนซื้อ
ชาวประมงก็ได้รับผลกระทบเพราะปลาและหอยราคาตกมากเพราะส่งออกไม่ได้ ก็หันมาขายออนไลน์บ้าง
ขายที่ตลาดชุมชนบ้าง แต่ก็รองรับอุปทานได้ไม่หมด
ต้นทุนการผลิตอย่างราคาเมล็ดพันธ์ ปุ๋ย และสารเคมีเพิ่มสูงขึ้น แต่ได้รับผลกระทบน้อยจากราคา
สารเคมีเนื่องจากไม่ค่อยได้ใช้ ประกอบกับต้องลดผลผลิตด้วยเพราะไม่มีตลาดที่จะรองรับผลผลิต
ภาพที่ 6 การสัมภาษณ์ชาวบ้านในชุมชนสิงหนคร จังหวัดสงขลา (ภาพ: ปิโยรส ปานยงค์เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2563)
ชุมชนพังงา-ภูเก็ต กรณีบ้านอ่าวมะขามตั้งแต่รัฐเริ่มมาตรการกักกันโรค ลูกหลานที่ท างานใน
เมืองกลับบ้านไม่ทัน แถมท างานไม่ได้ ท าให้เป็นห่วงมาก พ่อแม่ต้องส่งอาหารไปให้ จนเมื่อผ่อนคลาย
มาตรการกลับบ้านได้ แต่ถูกเลิกจ้างหรือลดเงินเดือน กลับไปอยู่กับพ่อแม่ท าให้ ท าให้เป็นภาระปากท้อง
อาหารการกินล าบาก จึงปรับตัวด้วยการหาปลาให้มากขึ้นเพื่อเอามากินกันในครัวเรือน ลูกหลานที่กลับมา
ก็หันมาท าประมงบ้าง ปลูกผักสวนครัวกินบ้าง แต่ไม่ค่อยได้ผลเพราะดินเค็ม ยางก็ราคาตกเพียงกก.ละ 5
บาท ไม่พอซื้อข้าวที่ราคา กก.ละ 35 บาท กุ้งก็ราคาตกเช่นกันจาก 300 เหลือ 200 บาท
สถานะเงินเก็บเริ่มลดลง หนี้มากขึ้นเพราะไม่มีรายได้ (โดยเฉพาะบ้านที่ไม่ได้รับเงินช่วย 5000
บาท) จึงกู้จากออมทรัพย์ เพราะได้ลดหย่อนดอกเบี้ยและเงื่อนไขการช าระเงิน เพื่อเอาไปจ่ายหนี้นอกระบบ
(เหมือนที่จังหวัดน่าน)
ชาวบ้านพยายามปรับตัวโดยการปลูกข้าวแต่ยังไม่ค่อยได้ผล ตอนนี้ท างานมากขึ้นแต่รายได้
น้อยลง มองโควิดเป็นบทเรียนให้เก็บเงินให้มากในอนาคต
ส าหรับบ้านอ่าวกุ้ง มีอาชีพที่หลากหลาย แต่ส่วนมากพึ่งพิงการท่องเที่ยว เช่นแรงงานในภาค
ท่องเที่ยว แม้การเกษตรและประมงก็ผลิตเพื่อป้อนนักท่องเที่ยวเป็นหลัก
ในช่วงโควิดกลุ่มประมงก็หามากินเองเพราะไม่มีการท่องเที่ยว บางบ้านลงทุนไปแล้วเพื่อเตรียม
รับ High Season เช่นซื้อรถตู้ แต่พอมีโควิดก็ท าให้เป็นหนี้สินก้อนโต แม้แต่เจ้าหนี้นอกระบบที่ตามปกติ
แล้วจะร่ ารวยก็ล าบากเพราะคนไม่กล้ากู้ กลัวจะช าระคืนไม่ได้
51