Page 19 - b28783_Fulltext
P. 19

ก าหนดตัวชี้วัดและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชุมชน เพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงภัยที่อาจเกิดขึ้น โดยเฉพาะ
                  ประเด็นส าคัญต่อไปนี้

                           1. การป้องกัน การจัดการแพร่ระบาดโควิดโดยเฉพาะกลุ่มคนเปราะบางทางสังคม
                           2. ผลกระทบจากลูกหลานตกงานกลับบ้าน
                           3. รายได้ รายจ่าย หนี้สิน เงินออมของครอบครัว
                           4. ผลกระทบต่อเศรษฐกิจของชุมชน

                           5. นิเวศ และฐานทรัพยากรชุมชน ห่วงโซ่อาหาร
                           6. ความมั่นคงและความปลอดภัยอาหาร
                           7. การผลิตของชุมชน
                           8. ตลาดชุมชนและตลาดเขียว

                           9. ความสัมพันธ์ในครอบครัวและชุมชน
                           10. มาตรการช่วยเหลือของรัฐบาลและเอกชน

                           ส าหรับแนวทางการปรับตัวของชุมชน จะประยุกต์ใช้หลักการปรับตัวรับภัยพิบัติจากโครงการ

                  พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) และศูนย์เตรียมความพร้อมป้องกันภัยพิบัติแห่งเอเชีย (ADPC) ซึ่งจะ
                  เป็นข้อเสนอแนะแนวทางการปรับตัวของชุมชนท้องถิ่นที่มีความยั่งยืนและแก้ไขปัญหาพื้นฐานของชุมชน
                                      9
                  ท้องถิ่น ใน 4 ด้านส าคัญ  ได้แก่
                             การเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับชุมชนบนพื้นฐานการป้องกันภัย
                             การเสริมสร้างการตอบสนองต่อภัยและการลดผลกระทบอย่างมีประสิทธิภาพ
                             การพัฒนาระบบฟื้นฟูจากความเสียหายที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ประสบภัย
                             การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างชุมชนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องด้านการจัดการความ
                              เสี่ยงที่มีประสิทธิภาพ

                           โครงการฯ ได้ท างานร่วมกับ ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง ที่จะเป็นตัวหลักศึกษาเชิงปริมาณในระดับ
                  ครัวเรือนทั่วประเทศ โดยจะน าข้อมูลการศึกษาเชิงคุณภาพระดับชุมชนมาสังเคราะห์ร่วมกับการศึกษาเชิง
                  ปริมาณระดับครัวเรือน


                        1.4  กลุ่มเป้าหมาย

                           ขอบเขตพื้นที่การวิจัยเน้นไปที่ชุมชนท้องถิ่นในชนบท โดยท าศึกษาร่วมกับมูลนิธิชีววิถีและมูลนิธิ
                  เกษตรกรรมยั่งยืนฯ
                           1) การศึกษาเชิงปริมาณ โดยใช้การเก็บข้อมูลแบบสอบถาม ครอบคลุมชุมชนเกษตรกรรม 15
                  จังหวัด 5 ภูมิภาค ประกอบด้วย ภาคเหนือ ได้แก่ เชียงราย ล าพูน น่าน ภาคตะวันออก ได้แก่ ฉะเชิงเทรา

                  ระยอง ชลบุรี ชุมชนชายฝั่งทะเลภูเก็ต พังงา และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ นครสวรรค์ นครปฐม ยโสธร สุรินทร์
                  มหาสารคาม พัทลุง ชุมพร นครศรีธรรมราช และสงขลา
                            2)  การศึกษาเชิงคุณภาพ ศึกษาชุมชนเกษตรกรรมและฐานทรัพยากร 6 พื้นที่ ดังนี้
                        ตารางที่ 1 การศึกษาเชิงคุณภาพ ชุมชนเกษตรกรรมและฐานทรัพยากร 6 พื้นที่

                 พื้นที่               ฐานทรัพยากร                      ฐานการผลิตและเศรษฐกิจ



                  9  อ้างอิงข้อมูลจาก https://actionforclimate.deqp.go.th/?p=6246
                                                                                                         4
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24