Page 16 - b28783_Fulltext
P. 16

บทที่ 1 บทน า

                        1.1  หลักการและเหตุผล



                           เมื่อเกิดการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  2019  (COVI D- 19)  ที่มีการระบาดใหญ่
                  (Pandemic) ไปทั่วโลก (ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก, 11 มีนาคม 2563) รัฐบาลไทยประกาศ

                  ข้อก าหนดแห่งพระราชก าหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 1) ใช้บังคับ
                  ทั่วราชอาณาจักร  ห้ามประชาชนเข้าไปในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการติดโรคโควิด-1 9  มีผลบังคับใช้ตั้งแต่

                  วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 และต่อมามีการสั่งปิดสถานที่เป็นการชั่วคราว เช่น ห้างสรรพสินค้า การระงับ
                  การให้บริการของสถานบริการต่าง ๆ ทั้งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และในอีกหลายพื้นที่ การงดกิจกรรม

                  อาทิ การแข่งขันกีฬา งานบันเทิง งานอบรมสัมมนา การแสดงสินค้า เป็นต้น ซึ่งส่งผลกับการด าเนินชีวิตของ
                  ประชาชน ได้ส่งผลกระทบทุกมิติทั้งทางสังคมและเศรษฐกิจเป็นวงกว้างอย่างชัดเจน  และผู้ได้รับผลกระทบ
                  ในวงกว้างในระยะเฉียบพลันน่าจะเป็นธุรกิจในเมือง  อาทิ  ธุรกิจการท่องเที่ยว,  ธุรกิจค้าปลีก,  และ ธุรกิจ

                  ร้านอาหาร โดยเฉพาะธุรกิจรายย่อย ทั้งร้านอาหาร และ ร้านค้าปลีก ส านักงานสถิติแห่งชาติได้คาดการณ์
                  ว่าในประเทศไทยมีจ านวนผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงอย่างฉับพลันถึงประมาณ  9.88  ล้านคน  ซึ่งเป็นกลุ่ม

                  แรงงานนอกระบบและแรงงานที่อยู่ในภาคบริการในร้านค้าและตลาด     กลุ่มแรงงานผู้ได้รับค่าจ้างรายวัน
                  และกลุ่มผู้มีรายได้น้อย  ในขณะที่มาตรการช่วยเหลือและเยียวยาจากภาครัฐที่จะโอบอุ้มผู้ได้รับผลกระทบ

                  ในขณะนี้รองรับแรงงานนอกระบบเพียงแค่ 3 ล้านคนเท่านั้น นอกจากนี้ยังไม่รวมถึงแรงงานในระบบที่ได้รับ
                                                              1
                  ผลกระทบจากการเลิกจ้างหรือปรับอัตราการเงินเดือน  และเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 คณะรัฐมนตรีมีมติ
                  เห็นชอบ  เรื่อง  มาตรการดูแลและเยียวยาผลกระทบจากไวรัสโคโรนา  (COVID-19)  ต่อเศรษฐกิจไทยทั้ง
                  ทางตรงและทางอ้อม  ระยะที่  2  ซึ่งรวมมาตรการดูแลและเยียวยา  “ผู้ประกอบการ”ครอบคลุมมาตรการ

                  ด้านสินเชื่อและการฝึกอบรมทักษะฝีมือมากยิ่งขึ้น                                         2


                           อย่างไรก็ตามแรงงานที่ได้รับผลระทบจากการปิดกิจการ 22 วัน ตั้งแต่ 22 มี.ค.-12 เม.ย.ที่ผ่าน
                  มา และนายจ้างให้หยุดงานชั่วคราว ส่วนใหญ่เลือกที่จะกลับบ้านในภาคอีสาน “เพราะมั่นใจว่าถึงจะไม่มี

                  เงิน แต่ก็ยังมีข้าว มีปลา มีผักที่หากินได้ และช่วยลดค่าใช้จ่ายกว่า 20 วันกับการใช้ชีวิตใน กทม. โดยไม่มี
                              3
                  เงิน ไม่มีงาน”  ดังนั้นจึงบ่งชี้ถึงความเชื่อมโยงของผลกระทบการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
                  (COVID-19) จะไม่จ ากัดเฉพาะพื้นที่เมืองแต่ยังต่อเนื่องไปยังชุมชนในชนบทซึ่งเป็นภูมิล าเนาของแรงงานใน
                  เมืองด้วย  ทั้งในเรื่องโอกาสแพร่กระจายไวรัสแก่ผู้ร่วมเดินทางและผู้ที่อยู่ปลายทางในชุมชนท้องถิ่นชนบท

                  โดยเฉพาะผู้สูงวัยและผู้ที่ไม่แข็งแรงมีโรคประจ าตัวอยู่แล้ว  และการช่วยเหลือเยียวยาทั้งทางสังคมและ
                                                                    4


                  1  อ้างอิงข้อมูลจาก TerraBKK.com  < https://www.terrabkk. com/ articles/ 197654>
                  2  อ้างอิงข้อมูลจาก https://www.ryt9.com/s/mof/3108435
                  3  อ้างอิงข้อมูลจาก https://news.thaipbs.or.th/content/290090
                  4  อ้างอิงข้อมูลจาก https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B9%81%E0%B8%99%E
                  0%B8%A7%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99และ
                  COVIDและ19
                  และ%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%
                  A5%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B8%A5%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%99%E0%B8%
                  B2-YNJYkN
                                                                                                         1
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21