Page 69 - kpib28626
P. 69
มั่วสุมของเยาวชน ก่อให้เกิดปัญหายาเสพติด ลักขโมย จึงได้ท�าเรื่องขอใช้พื้นที่ดังกล่าวเป็น
ที่ดินราชพัสดุ จากส�านักงานธนารักษ์พื้นที่พัทลุง สร้างแหล่งเรียนรู้ “ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้
และพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน” ขึ้นตามความต้องการและแก้ไขปัญหาของประชาชนโดยมี
วัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อเป็นศูนย์มีการศึกษาเรียนรู้ของเกษตรกรและให้สอดคล้องกับแผน
การกระจายอ�านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนตรงการบริหารส่วนต�าบลต�านาน
2. เพื่อเพิ่มศักยภาพของชุมชนในการศึกษาวิจัยและพัฒนาการเกษตรยั่งยืน
3. เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการการท�างานภาครัฐ สามารถให้บริการแก่เกษตรกร
ณ จุดเดียว
ตัวอย่าง บริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
4. เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนการในการพัฒนาการเกษตรโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วม
5. เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้ตามแนวพระราชด�าริรวมถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้
สามารถกระจายลงสู่ชุมชนได้อย่างทั่วถึง
ทั้งนี้ องค์ประกอบของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน
มีทั้งหมด 20 กลุ่ม ซึ่งผลสัมฤทธิ์ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน
ท�าให้เกษตรกรสามารถลดค่าใช้จ่ายต้นทุนการผลิต และลดการใช้สารเคมี ผลผลิตสูงขึ้น และ
คุณภาพของผลผลิตดีขึ้น ท�าให้มีรายได้เพิ่มขึ้น และยังลดการปนเปื้อนของสารเคมีในชุมชน
สุขภาพของคนในชุมชนดีขึ้น และเกิดการสืบทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น
นอกจากนี้ การจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน ท�าให้มีการ
สนับสนุนอาหารกลางวันให้กับเด็กนักเรียน และปริมาณขยะในพื้นที่ลดลง เกิดการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ของชุมชน มีการรวมกลุ่มชุมชน เกิดกลุ่มเครือข่ายในชุมชนอีกหลายกลุ่มที่เข้ามาพัฒนาและ
ต่อยอดผลิตภัณฑ์ และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องได้เข้ามาสนับสนุนทางด้านวิชาการการ
น�าเทคนิคความรู้ใหม่ๆ มาพัฒนาศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพต�าบลต�านานอีกด้วย
การที่องค์การบริหารส่วนต�าบลต�านานได้รับรางวัลพระปกเกล้า ประจ�าปี 2560
เป็นสิ่งยืนยันได้ว่า องค์การบริหารส่วนต�าบลต�านานมีศักยภาพในการบริหารจัดการท้องถิ่นของ
ตนเอง สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น อีกทั้ง เป็นการ
ส่งเสริมการพัฒนาอาชีพให้กับกลุ่มเกษตรกรให้มีความรู้ ความสามารถ และเพิ่มรายได้
ให้กับเกษตรในพื้นที่อย่างยั่งยืน
หน้า 68