Page 68 - kpib28626
P. 68

4.  การติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงการ
                          ท�างานและเกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ท�าให้ทราบถึงความต้องการและความ
                          พึงพอใจของประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการรวมถึงปัญหาและอุปสรรคของการ

                          ด�าเนินโครงการ นอกจากนี้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นควรมีการประเมินผลถึง
                          ความคุ้มค่าของงบประมาณที่ใช้ในการด�าเนินโครงการ ว่าเป็นประโยชน์ต่อการ

                          จัดสรรงบประมาณมากน้อยเพียงใดและมีประสิทธิภาพมากขึ้นหรือไม่

                       5.  ความเพียงพอของงบประมาณ ซึ่งการด�าเนินงานให้ส�าเร็จจะต้องมีการจัดสรร
                          งบประมาณที่เหมาะสมและเพียงพอ โดยต้องค�านึงถึงการใช้งบประมาณอย่าง

                          คุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยพิจารณาถึงผล
                          ประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการด�าเนินโครงการ ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และคุณภาพ

                          ชีวิตของประชาชนหากเป็นโครงการที่มีผลให้ประชาชนมีความสุขเพิ่มขึ้น โดย
                          ไม่สามารถวัดความมาในรูปแบบของเชิงปริมาณได้ ก็ถือว่าคงการเงินความคุ้ม
                          ค่าเช่นกัน


                      “ส�ำหรับโครงกำรหรือกิจกรรมที่สะท้อนให้เห็นถึงควำมเป็นเลิศเน้นด้ำนควำมโปร่งใส
               และส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชน” (สุมามาลย์ ชาวนา, 2560: 73-75)

                      เห็นได้จาก “ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และการพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน” จาก                ตัวอย่าง บริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

               การส�ารวจปัญหาขององค์การบริหารส่วนต�าบลต�านาน พบว่าปัญหาหลักของประชาชนในเขต
               องค์การบริหารส่วนต�าบลต�านาน มีดังนี้ 1) ปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
               ซึ่งสาเหตุมาจากสภาวะทางเศรษฐกิจตกต�่า ประชาชนไม่มีงานท�าขาดรายได้ มีการปลดทรัพย์

               ลักขโมย วิ่งราวทรัพย์ หรือการมั่วสุมของกลุ่มเยาวชนในเขตพื้นที่ 2) ปัญหาครัวเรือนมีรายได้
               น้อย เกิดจากต้นทุนการผลิตทางการเกษตรสูงขึ้น สภาวะค่าใช้จ่ายปัจจัยพื้นฐานของครัวเรือน

               เพิ่มสูงขึ้นประชาชนไม่มีอาชีพเสริม และขาดการเรียนรู้ร่วมกัน 3) ปัญหาสุขภาพของประชาชน
               โดยมีความเสี่ยงสูงจากโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเร็ง ซึ่งสาเหตุมาจาก
               พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมทางสังคม ขาดการออกก�าลังกาย ขาดความรู้ และการเรียน

               รู้ซึ่งกันและกัน และ 4) ปัญหาขยะในชุมชน ไม่มีการคัดแยกขยะจากครัวเรือน ขาดความรู้เรื่อง
               ประโยชน์และโทษของขยะ และที่ส�าคัญขาดการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะของชุมชน

                      จากสภาพปัญหาดังกล่าว ท�าให้องค์การบริหารส่วนต�าบลต�านานเห็นว่าควรพัฒนาแหล่ง

               เรียนรู้ทางสังคมเพื่อให้ประชาชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficient Economy)
               และนวัตกรรมต่าง ๆ ของชุมชนที่มีอยู่ได้ศึกษาแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและกัน และเห็นว่า

               โรงเรียนบ้านควนคง หมู่ที่ 14 ต�าบลต�านาน ซึ่งเป็นพื้นที่รกร้างและเป็นพื้นที่เปลี่ยวเป็นแหล่ง


                                                         หน้า 67
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73