Page 70 - kpib28626
P. 70
(สุมามาลย์ ชาวนา, 2560: 44-48)
เทศบาลเมืองแม่เหียะ ด้วยลักษณะภูมิประเทศของต�าบลแม่เหียะ เป็นพื้นที่ราบใช้
ส�าหรับเป็นที่อยู่อาศัย และการพาณิชย์เป็นส่วนใหญ่ พื้นที่บางส่วนเป็นป่าซึ่งอยู่ในเขตอุทยาน
แห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จึงท�าให้เทศบาลเมืองแม่เหียะมีสถานที่ท่องเที่ยวที่อยู่เขตเทศบาล
จ�านวน 4 แห่ง ได้แก่ อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เชียงใหม่ไนท์ซาฟารี วัดพระธาตุดอยค�า และ
น�้าตกตาดหมาไห้ เป็นต้น จากสถานที่ท่องเที่ยวดังกล่าว ท�าให้ดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศ
และต่างประเทศเข้ามาเที่ยวในเขตพื้นที่ต�าบลแม่เหียะ กองวิชาการและแผนงาน (2560: 1)
เทศบาลเมืองแม่เหียะในฐานะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ปกครองและรับผิดชอบ จึงเล็ง
เห็นความส�าคัญของพื้นที่ดังกล่าวและได้มีการจัดท�าแผนการด�าเนินงานของเทศบาลเมืองแม่
เหียะขึ้น โดยน�าโครงการและกิจกรรมการพัฒนาที่ได้บรรจุในแผนพัฒนาสามปีของเทศบาล
เมืองแม่เหียะ ทั้งในส่วนที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีและส่วนที่ได้รับงบ
ประมาณจากหน่วยงานอื่นมาด�าเนินการ ซึ่งโครงการและกิจกรรมการพัฒนาดังกล่าวมีที่มา
จากการบูรณาการความร่วมมือหลายหน่วยงาน ไม่ว่าจะเป็นจากหน่วยงานภายในเองที่จัดท�า
โครงการและกิจกรรมการพัฒนาตามภารกิจ อ�านาจหน้าที่และความต้องการของประชาชน ตัวอย่าง บริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นส�าคัญ หรือหากเป็นโครงการและกิจกรรมการพัฒนาที่บูรณาการร่วมกับหน่วยงาน
ภายนอกก็จะมีลักษณะของความร่วมมือในหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือโดย
การสนับสนุนให้ด�าเนินงาน หรือความร่วมมือในการจัดกิจกรรมหรือโครงการหนึ่งโครงการใด
ร่วมกัน
นอกจากนี้ เทศบาลเมืองแห่เหียะยังได้รับการความอนุเคราะห์จากหน่วยงานภายนอก
เทศบาลในการให้ข้อมูลกิจกรรม โครงการที่จะมีการด�าเนินงานในพื้นที่เทศบาล นับว่าเป็น
อีกก้าวหนึ่งของการบูรณาการและแสดงความร่วมมือจากหลายฝ่าย จึงกล่าวได้ว่าแผนการ
ด�าเนินงานของเทศบาลเมืองแม่เหียะเป็นเสมือนแผนที่แสดงให้เห็นถึงการด�าเนินงานของ
เทศบาลหรือหน่วยงานอื่นที่ได้มีการปฏิบัติงานและได้เกิดผลการพัฒนาอย่างแท้จริง
การที่เทศบาลเมืองแม่เหียะให้ความส�าคัญกับการมุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ของตนเอง
ผ่านกระบวนการการจัดบริการสาธารณะให้แก่ประชาชน ด้วยความสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมและสามารถตรวจสอบได้ เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด
หน้า 69