Page 66 - kpib28626
P. 66

ทว่า ความใหญ่โตของเมืองเริ่มขยายเข้าสู่เขตพื้นที่ต�าบลต�านาน ท�าให้ประชากรใน
               พื้นที่หันมาประกอบอาชีพแบบคนเมืองมากขึ้น อาทิ การค้าขาย รับจ้าง อย่างไรก็ดี ตามสภาพ
               แวดล้อมและบริบทของพื้นที่นั้นเหมาะแก่การท�าเกษตรกรรม ซึ่งรายได้ส่วนใหญ่ของประชาชน

               มาจากการภาคการเกษตรเป็นหลัก รองลงมา คือ รายได้นอกภาคเกษตร อาทิ รับราชการ
               รับจ้างทั่วไป ท�าขนม ค้าขาย เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีธุรกิจที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เช่น โรงแรม

               ปั๊มน�้ามันและก๊าซ โรงงานอุตสาหกรรม โรงสี และโรงอิฐ เป็นต้น

                      สภาพสังคมตามโครงสร้างทางสังคมขององค์การบริหารส่วนต�าบลต�านาน ประกอบ
               ด้วยสถาบัน องค์กร กลุ่มผู้น�า กลุ่มอาชีพ และกลุ่มที่ส�าคัญต่าง ๆ ที่ช่วยกันส่งเสริมให้สภาพ

               ความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เป็นไปอย่างมีคุณภาพ อันจะส่งผลให้ครอบครัวและชุมชน
               เกิดความเข้มแข็งน�าไปสู่ความยั่งยืนในการพัฒนา สถาบันทาง สังคมในพื้นที่องค์กรบริหาร

               ส่วนต�าบลต�านานประกอบด้วย สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา การสาธารณสุข กลุ่มอาชีพ
               เป็นต้น นอกเหนือจากโครงการทางสังคมแล้วยังมีระบบสาธารณูปโภคในพื้นที่ อาทิ
               การคมนาคม การระบายน�้า การไฟฟ้า ประปา แหล่งน�้าเพื่อใช้ในการเกษตร รวมถึงสถานที่

               ท่องเที่ยว/หมู่บ้าน/โบราณสถาน/โบราณวัตถุ ที่แสดงถึงความเป็นอยู่ของชุมชน

                      ในการพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชน องค์การบริหารส่วนต�าบลต�านานเหมือนเป็น
               พี่เลี้ยงคอยให้ค�าแนะน�า ให้ความรู้แก่คนในชุมชน เพื่อให้ชุมชนสามารถพัฒนาจุดเด่น            ตัวอย่าง บริบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

               ของแต่ละพื้นที่ ซึ่งเห็นได้จาก

                       1.  การรวมกลุ่มของประชาชน ได้แก่ กลุ่มอาชีพ จ�านวน 9 กลุ่ม กลุ่มออมทรัพย์
                          จ�านวน 15 กลุ่ม กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน จ�านวน 15 กลุ่ม กลุ่มกองทุนสวัสดิการ

                          ชุมชน จ�านวน 1 กลุ่ม กลุ่มสภาองค์กรชุมชน จ�านวน 1 กลุ่ม กลุ่มอนุรักษ์คลอง
                          ต�านาน จ�านวน 1 กลุ่ม กลุ่มกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี จ�านวน 1 กลุ่ม และ

                          กลุ่มศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาอาชีพต�าบลต�านาน จ�านวน 1 กลุ่ม
                          เป็นต้น

                       2.  จุดเด่นของพื้นที่ที่ราบลุ่มมีแม่น�้าล�าคลองหลายสาย ได้แก่ คลองต�านาน คลอง

                          ล�าหลิง คลองชลประทาน ไหลผ่านท�าให้เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรม

                       3.  จุดเด่นด้านทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ มีคลองล�ามุด เพื่อใช้ส�าหรับแหล่ง
                          เพาะพันธุ์ปลา และกักเก็บน�้าส�าหรับท�าการเกษตร และล�าเหมืองท่าชะมวง

                          ซึ่งเป็นคลองส่งน�้าท�าการเกษตร






                                                         หน้า 65
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71