Page 140 - kpi23788
P. 140

ก่อนเกิด (วันที่ 26 กุมภาพันธ 2566)                     หลังเกิด (วันที่ 6 มีนาคม 2566)


               ภาพที่ 1.5  ภาพสีผสมเท็จ (MIR NIR Green) จากดาวเทียม Landsat-8,9 แสดงสภาพพื้นที่ก่อนและหลังเกิด
               ไฟป่า (สีม่วงเข้ม) บริเวณรอยต่อจังหวัดกำแพงเพชรและนครสววรค์
































              ภาพที่ 1.6 ภาพสีผสมเท็จ (SWIR NIR Green) จากดาวเทียม Sentinel-2 แสดงสภาพพื้นที่ก่อนและหลังเกิดไฟ

              ป่า (ดังศรชี้) บริเวณตำบลแก่นมะกรูด อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี


                            จากนั้น นำภาพทั้งสองช่วงเวลาดำเนินการวิเคราะห์ค่าความแตกต่างของดัชนีการเผาไหม้

               (Difference Normalized Burn Ratio: DifNBR) โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ของค่าการสะท้อนแสงของ
               พื้นที่เกิดไฟป่า โดยใช้สมการวิเคราะห์ดังสมการต่อไปนี้




                                            Dif  = (NBR  - NBR ) x 1000
                                                         pre
                                               NBR
                                                                 post
               เมื่อ

                       Dif  = ค่าความแตกต่างของค่าดัชนีการเผาไหม้ NBR (Normalized Burn Ratio)
                          NBR
                       NBR = (NIR - MIR)/(NIR+MIR)
                       NBR  = ค่าดัชนีการเผาไหม้ข้อมูลภาพก่อนเกิดไฟป่า (ก่อนฤดูกาลเกิดไฟป่า)
                           pre
                       NBR  = ค่าดัชนีการเผาไหม้ ข้อมูลภาพหลังเกิดไฟป่า
                           post
                       NIR = ค่าการสะท้อนแสงในช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้

                       MIR = ค่าการสะท้อนแสงในช่วงคลื่นอินฟราเรดกลาง




                                              รายงานสรุปสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควัน ปี 2566 โดยใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ         11
                                              สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน): สทอภ.
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145