Page 39 - 22825_Fulltext
P. 39
1-4
2. วัดระดับสันติภำพในสังคมไทยเพื่อน ำไปสู่ข้อเสนอแนะในกำรสร้ำงสันติภำพให้เกิดขึ้น
3.น ำผลของงำนวิจัยมำแลกเปลี่ยนกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อท ำให้เกิดกำรขับเคลื่อนงำนด้ำน
สันติภำพ
1.3 ขอบเขตกำรวิจัย
ระยะเวลำในกำรศึกษำวิจัย จ ำนวน 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลำคม พ.ศ.2564- วันที่ 30 กันยำยน พ.ศ.
2565 ส ำหรับพื้นที่ในกำรด ำเนินกำรวิจัยเป็นกำรวัดระดับสันติภำพในระดับประเทศและระดับจังหวัด
องค์ประกอบของกลุ่มตัวชี้วัดด้ำนสันติสุขจ ำนวน 4 ด้ำน จ ำนวนตัวชี้วัด 34 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย
องค์ประกอบของตัวชี้วัด
P1. ไม่มีควำมรุนแรงทำงกำยภำพ
P1.1 มุมมองต่อระดับควำมรุนแรงในประเทศ
P1.2 มุมมองต่อระดับควำมรุนแรงในชุมชน
P1.3 มุมมองต่อระดับควำมรุนแรงในครอบครัว
P1.4 จ ำนวนของผู้เสียชีวิตจำกควำมขัดแย้งภำยในประเทศ (ต่อสู้ภำยในประเทศ)
P1.5 ผลกระทบของกำรก่อกำรร้ำย
P2. ควำมปลอดภัยและควำมมั่นคงในสังคม
P2.1จ ำนวนของกำรฆำตกรรม (ต่อแสนคน)
P2.2 จ ำนวนของประชำกรในเรือนจ ำ (ต่อแสนคน)
P2.3 จ ำนวนเจ้ำหน้ำที่ต ำรวจ (ต่อแสนคน)
P2.4 จ ำนวนคดีเพศและท ำร้ำยร่ำงกำย
P2.5 มุมมองต่อควำมรู้สึกปลอดภัย/ควำมหวำดกลัว
P2.6 จ ำนวนเหตุกำรณ์ควำมรุนแรงในครอบครัว
P2.7 อัตรำกำรฆ่ำตัวตำย
P2.8 (เพิ่ม) สัดส่วนงบประมำณที่ใช้ในกำรพัฒนำกับกำรจัดซื้ออำวุธ
P2.9 (เพิ่ม) จ ำนวนคดีที่เกี่ยวข้องกับยำเสพติด
P3. กำรยอมรับควำมหลำกหลำย/กำรไม่เลือกปฏิบัติ/กำรเคำรพสิทธิมนุษยชน
P3.1 มุมมองต่อกำรยอมรับให้บุคคลที่มีลักษณะแตกต่ำงจำกคนทั่วไปมีบทบำททำงสังคมและ
กำรเมือง
P3.2 มุมมองต่อกำรเลือกปฏิบัติในกำรใช้บริกำรภำครัฐ
P3.3 มุมมองต่อเสรีภำพในกำรแสดงออกทำงกำรเมือง
P3.4 มุมมองต่อเสรีภำพของสื่อมวลชน
P3.5 มุมมองด้ำนพหุวัฒนธรรม
P3.6 จ ำนวนเหยื่อจำกกำรค้ำมนุษย์ (ต่อ 100,000 คน)