Page 37 - 22825_Fulltext
P. 37
1-2
ข้อเสนอแนวทำงในกำรป้องกันสงครำมระหว่ำงประเทศและภำยในประเทศมีหลำยแนวทำง แนวทำง
หนึ่งคือ กำรเตือนภัยล่วงหน้ำนั้นได้ กำรทรำบถึงข้อมูลดังกล่ำวอย่ำงเพียงพอจะท ำให้ผู้ที่เกี่ยวข้องสำมำรถ
แก้ไขปัญหำที่เกิดขึ้นได้อย่ำงเที่ยงตรงและทันเวลำ ภำยใต้หลักควำมมีเหตุผลมิใช่กำรใช้ควำมรู้สึกหรืออำรมณ์
ในกำรแก้ไขปัญหำเท่ำนั้น ดังนั้นในบำงประเทศจึงมีกำรสร้ำงฐำนข้อมูลด้ำนกำรเฝ้ำระวังควำมขัดแย้งรุนแรงที่
อำจจะส่งผลบั่นทอนสันติภำพไว้อย่ำงเป็นระบบ ยกตัวอย่ำงเช่น (Ramsbotham, Woodhouse, & Miall,
2011, p 64)
1) ตัวแบบจ ำลองด้ำนควำมขัดแย้ง (Conflict Simulation Model)-KOSIMO ฐำนข้อมูลนี้เป็นกำร
วัดควำมขัดแย้งที่กลำยเป็นควำมรุนแรงและสำมำรถจัดกำรควำมขัดแย้งนั้นได้ พัฒนำโดย University of
Hidelberg ในประเทศเยอรมนี
2) ฐำนข้อมูลควำมขัดแย้งและกำรสร้ำงสันติสุข พัฒนำโดย Escola de Cultura de Pau (ECP)
Autonomous University ในบำร์เซโลน่ำ ประเทศสเปน เป็นกำรวัดกิจกรรมด้ำนกำรสร้ำงสันติภำพ เช่น
สถำนะของกำรเจรจำสันติภำพ กำรท ำงำนของคณะกรรมกำรสร้ำงสันติภำพของสหประชำชำติ กำรปลดอำวุธ
และกำรคืนสู่สังคม เป็นต้น
3) ดัชนีสันติภำพโลก (Global Peace Index)-GPI จัดท ำโดยสถำบันเศรษฐศำสตร์และสันติภำพ
(Institute for Economics and Peace)-IEP ในประเทศออสเตรเลีย
ในบรรดำฐำนข้อมูลทั้ง 3 แหล่ง ฐำนข้อมูลดัชนีสันติภำพโลกมีควำมเป็นระบบและต่อเนื่องมำกที่สุด
ส่วนอีก 2 ฐำนข้อมูลที่เหลือข้อมูลไม่ได้น ำมำเผยแพร่อย่ำงเป็นระบบเท่ำกับฐำนข้อมูลดัชนีสันติภำพโลก
อย่ำงไรก็ตำม นอกจำกที่กล่ำวมำ มีองค์ควำมรู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับสันติภำพของต่ำงประเทศมีเป็นจ ำนวนมำก แต่
ไม่ได้ใช้ค ำว่ำสันติภำพโดยตรง งำนแต่ละชิ้นได้จัดท ำขึ้นมำมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบำยถึงแนวคิดด้ำนต่ำงๆ ตำม
วัตถุประสงค์เฉพำะของงำน เช่น กำรศึกษำแนวคิดกำรพัฒนำที่ยั่งยืน กำรสร้ำงคุณภำพสังคม ควำมสุขของคน
ในสังคม ควำมปรองดองของคนในชำติ รวมถึงควำมเจริญรุ่งเรืองของประเทศ แนวคิดที่หลำกหลำยดังกล่ำว
สำมำรถน ำมำเชื่อมโยงอธิบำยได้ว่ำเป็นไปในทิศทำงเดียวกันกับค ำว่ำสันติภำพ แต่มีควำมแตกต่ำงกันที่
รำยละเอียดบำงด้ำนและวัตถุประสงค์ที่เฉพำะเจำะจงของงำน
สถำบันเศรษฐศำสตร์และสันติภำพ หรือ IEP ได้พัฒนำดัชนีขึ้นมำทั้งดัชนีสันติภำพเชิงลบ (Global
Peace Index:GPI) และดัชนีสันติภำพเชิงบวก (Positive Peace Index : PPI) กำรวัดระดับสันติภำพในโลก
เริ่มต้นจำกกำรวัดสันติภำพเชิงลบ ต่อมำได้พัฒนำต่อยอดด้วยกำรวัดสันติภำพเชิงบวก กำรวัดระดับสันติภำพ
เชิงลบมีกำรวัดมำเป็นเวลำนับ 10 ปี โดยในปี ค.ศ. 2022 IEP ได้วัดระดับสันติภำพในโลกเปรียบเทียบกับ 163
ประเทศ ดัชนีสันติภำพเชิงลบวัดในด้ำนควำมรุนแรงทำงกำยภำพ ควำมมั่นคงปลอดภัยในสังคมและกำรทหำร
กำรวัดดัชนีสันติภำพเชิงลบในปี 2022 ประเทศไทยได้ถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 103 จำก 163 ประเทศ
(Institute for Economics and Peace, 2022) ส ำหรับดัชนีสันติภำพเชิงบวกวัดในด้ำนสังคมที่มีควำมเป็น
ธรรมและค ำนึงถึงสิทธิมนุษยชน โดยนิยำมที่ใช้คือ ทัศนคติ สถำบันและโครงสร้ำง ที่ท ำให้เกิดสันติภำพอย่ำง
ยั่งยืนในสังคม ส ำหรับดัชนีสันติภำพเชิงบวกในปี ค.ศ. 2022 ประเทศไทยถูกจัดให้อยู่ในอันดับที่ 60 ได้คะแนน
2.937 จำก 163 ประเทศ (Institute for Economics and Peace, 2022)