Page 38 - 22825_Fulltext
P. 38
1-3
นกจำกงำนของสถำบันเศรษฐศำสตร์และสันติภำพ งำนของสำกลที่เกี่ยวข้องกับกำรวัดระดับ
สันติภำพของต่ำงประเทศมีอีกเป็นจ ำนวนมำกซึ่งจะได้กล่ำวถึงรำยละเอียดในบทต่อไป เช่น 1. ดัชนีนิติธรรม/
นิติรัฐ (Rule of law Index) 2. ดัชนีเสรีภำพในโลก (Freedom House) 3. ดัชนีก่อกำรร้ำยโลก (Global
Terrorism Index: GTI) 4.ดัชนีกำรค้ำมนุษย์ 5. ดัชนีควำมปรองดอง SA Reconciliation Barometer Survey
6. ดัชนีควำมเจริญรุ่งเรือง (Prosperity Index) 7. เป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืน (SDGs) เป็นต้น
ด้วยควำมแตกต่ำงของบริบทในสังคมที่ไม่เหมือนกัน ตัวชี้วัดด้ำนสันติภำพของแต่ละแห่งย่อมไม่
เหมือนกันในกำรน ำมำอธิบำยปรำกฏกำรณ์แต่ละสังคม รวมถึงควำมแตกต่ำงของวิธีกำรจัดเก็บข้อมูล อีกทั้ง
กำรเก็บข้อมูลของต่ำงประเทศเป็นกำรเปรียบเทียบข้อมูลในระดับประเทศ ยังไม่ได้เก็บข้อมูลลงถึงระดับ
ภูมิภำคหรือจังหวัด ประกอบกับกำรเก็บข้อมูลด้ำนสันติภำพในระดับโลกยังขำดมิติ
ที่เป็นบริบทของประเทศไทย ทั้งในด้ำนเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและกำรเมือง อย่ำงไรก็ดีกำรเก็บข้อมูลของ
สำกลนั้นใช้ตัวชี้วัดชุดเดียวกันในกำรเปรียบเทียบ 163 ประเทศที่มีกำรส ำรวจอำจท ำให้ได้เห็นภำพของ
สันติภำพในเชิงเปรียบเทียบ แต่ขำดควำมลึกในเฉพำะเจำะจงภำยใน ด้วยเหตุนี้สถำบันพระปกเกล้ำได้มีกำร
สร้ำงดัชนี และตัวชี้วัดที่ใช้ส ำหรับประเทศไทยเป็นกำรเฉพำะในด้ำนของสันติภำพ/สันติสุข ภำยใต้สถำนกำรณ์
ควำมขัดแย้งรุนแรงของไทย ที่ยังคงด ำรงอยู่ แต่เปลี่ยนรูปร่ำงและมีควำมเป็นพลวัตเคลื่อนตัวไปอย่ำงต่อเนื่อง
ภำยใต้กระแสโลกและท้องถิ่น โดยในปี พ.ศ. 2563 (เก็บข้อมูลปี 2562) ได้ด ำเนินกำรวัดระดับสันติสุขทั้ง
สันติภำพเชิงลบและสันติภำพเชิงบวก โดยมีองค์ประกอบของกลุ่มตัวชี้วัดด้ำนสันติสุขจ ำนวน 4 ด้ำน
ประกอบด้วย 1.ไม่มีควำมรุนแรงทำงกำยภำพ 2. ควำมปลอดภัยและควำมมั่นคงในสังคม 3. กำรยอมรับควำม
แตกต่ำงหลำกหลำย/กำรไม่ถูกเลือกปฏิบัติ/กำรเคำรพสิทธิมนุษยชน และ 4. มีควำมเหลื่อมล้ ำในสังคมน้อย
และมีกำรกระจำยทรัพยำกรที่เป็นธรรม รวมจ ำนวนตัวชี้วัดทั้งสิ้น 28 ตัวชี้วัด จำกผลกำรศึกษำเปรียบเทียบ
ระหว่ำงปี 2560 กับ 2562 ในงำนวิจัยเรื่องนี้ พบว่ำ ระดับดัชนีสันติภำพของประเทศไทยปี พ.ศ. 2560 มีค่ำ
เท่ำกับ 3.42 คะแนน ซึ่งมีระดับดัชนีสันติภำพสูงกว่ำ ปี 2562 ที่ได้ระดับดัชนีสันติภำพเท่ำกับ 3.36
ระดับสันติภำพไม่ว่ำจะเป็นกำรวัดจำกควำมคิดเห็น ควำมรู้สึก หรือข้อมูลสถิติเป็นพลวัต
มีกำรเปลี่ยนแปลงไปอย่ำงต่อเนื่อง กำรจะท ำนำยหรือชี้สถำนะของสังคมสันติสุขจึงต้องเข้ำใจถึง
กำรเปลี่ยนแปลงดังกล่ำว อีกทั้งควรมีกำรปรับปรุงตัวชี้วัดอย่ำงต่อเนื่อง งำนวิจัยนี้ยังคงเลือกตัวชี้วัดที่เหมำะสม
กับกำรบอกสถำนะของสันติสุขเอำไว้ โดยมีตัวชี้วัดเสริมภำยใต้สถำนกำรณ์ควำมขัดแย้งที่เกิดขึ้น ผลกำรวัด
ระดับสันติภำพในระดับประเทศ และระดับจังหวัดจะเป็นประโยชน์โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งส ำหรับภำครัฐในกำรน ำ
ผลดังกล่ำวไปประกอบกำรก ำหนดนโยบำยในด้ำนกำรเสริมสร้ำงสังคมสันติสุข และสำมำรถใช้เตือนภัยล่วงหน้ำ
(Early Warning) ได้ต่อไปด้วยถ้ำหำกตัวชี้วัดตัวใดได้คะแนนน้อย ด้วยเหตุนี้จึงจ ำเป็นต้องวัดระดับสันติสุขในปี
พ.ศ. 2565 โดยมีกำรเพิ่มตัวชี้วัดย่อยมำอีก 6 ตัวชี้วัดย่อยจำกปีที่ผ่ำนมำ รวมทั้งหมดเป็น 34 ตัวชี้วัด เพื่อ
ควำมครอบคลุมรัดกุมและวัดระดับได้สอดคล้องกับปรำกฎกำรณ์ทำงสังคมให้มำกที่สุด อีกทั้งสอดคล้องกับ
บริบทสถำนกำรณ์โควิด-19 เพื่อประโยชน์ต่อกำรใช้ป้องกันควำมขัดแย้งมิให้ขยำยตัวกลำยเป็นควำมรุนแรง
อันจะช่วยสร้ำงสรรค์และธ ำรงไว้ซึ่งสังคมสันติสุขและควำมสุขของมนุษย์ต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์
1. พัฒนำดัชนีและตัวชี้วัด ด้ำนสันติภำพที่เหมำะสมกับบริบทของสังคมไทย